วันอาทิตย์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2554

การให้น้ำแบบเฉพาะจุด

          เป็นการให้น้ำแก่พืชที่จุดใด้จุดหนึ่งหรือหลายๆ จุดบนผิวดินหรือใน เขตรากพืช โดยอัตราของน้ำที่ให้นั้นไม่มากพอที่จุทำให้ดินในเขตรากพืชเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง ปกติแล้วผิวดินจะเปียกแต่ตรงจุดที่ให้น้ำเท่านั้นน้ำที่ให้แก่พืชอาจจุอยู่ในรูปของเม็ดน้ำเล็กๆ ซึ่งฉีดจากหัวฉีดขนาดเล็กที่ต้องการแรงดันไม่มากนัก เรียกว่า แบบมินิสปริงเกลอร์ หรือเป็นหยดน้ำเล็กๆ ที่ไหลจากหัวน้ำหยดหรือท่อพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ๑ ถึง ๒ มิลลิเมตร เรียกว่าแบบน้ำหยด
หัวฉีดหรือท่อพลาสติกนี้จะวางในบริเวณโคนต้นพืช โดยมีท่อพลาสติกหรือสายยางขนาดใหญ่เป็นท่อจ่ายน้ำ ซึ่งนำน้ำจากท่อประธานอีกทีหนึ่ง จำนวนหัวฉีดหรือท่อพลาสติกจะขึ้นอยู่กับความต้องการน้ำ ของพืช และเนื่องจากจำนวนของท่อหรือหัวฉีดซึ่งทำหน้าที่จ่ายน้ำมีขนาดเล็กมาก น้ำที่ใช้จึงต้องปราศ จากตะกอนที่มาอุดตันในท่อพลาสติกหรือหัวฉีด บางครั้งจะต้องให้น้ำผ่านเครื่องกรองตะกอนเสียก่อน

การเลือกใช้การให้น้ำแบบเฉพาะจุด
การให้น้ำแบบนี่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับพื้นที่ที่มีน้อยอย่างจำกัดหรือมีราคาแพงมาก ดินที่เหมาะกับการให้น้ำแบบนี้ โดยเฉพาะน้ำหยดควรจะเป็นดินที่มีเนื้อละเอียดจนถึงค่อนข้าง หยาบ เพราะเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างที่ดี ดินที่มีความโปร่งมากจะทำให้ความชื้นในดิน แผ่นกระจายไปไม่ทั่วเขตรากพืช ถ้าเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างดีแล้วน้ำจะแผ่กระจายได้ดี ซึ่งเป็นผลให้สามารถลด จำนวนหัวจ่ายน้ำลงได้ เนื่องจากว่าการให้น้ำแบบนี้มีระยะการให้น้ำยาวนาน แต่ไม่ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง จึงเหมาะอย่างยิ่ง
สำหรับพืชที่มีรากตื้นและต้องการให้ดินมีความชื้นสูงอยู่แบบนี้ใช้ได้ดีกับพืช ยืนต้นเหมือนกัน แต่เนื่องจากการลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จึงเลือกใช้กับพืชที่ให้ผลตอบแทนสูง เช่น ไม้ผลต่าง ๆ เป็นต้น
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด คือ
๑. เครื่องสูบน้ำ (Pumping Unit)

จะทำหน้าที่สูบน้ำจากแหล่งน้ำและเพิ่มความดันของน้ำ แล้วส่งไปตามท่อจ่ายน้ำ เครื่องสูบน้ำอาจจะเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้
๒. เครื่องกรองน้ำ (Filter)

จะทำหน้าที่กรองเอาเศษวัชพืช ใบไม้เมล็ดพืชและทราย ออกจากน้ำ ถ้าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้ผ่านไปจะทำให้หัวจ่ายน้ำเกิดการอุดตัน เป็นสาเหตุให้ต้นไม้ขาดน้ำเกิดชะงักการเจริญเติบโตถ้าเกิดขึ้นในช่วงที่ออกดอกหรือการให้ผลจะ ทำให้ดอกหรือผลร่วงเกิดความเสียหาย
๓. หัวจ่ายน้ำ (Sprinkler Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำในลักษณะหยดหรือฉีดออกมาเป็นฝอยละออง
๔. ท่อประธาน (Mainline Pipe Unit)

ทำหน้าที่ส่งน้ำจากเครื่อง-สูบน้ำไปสูบท่อแยก ท่อประธานอาจจะเป็นท่อพลาสติกหรือท่อโลหะก็ได้
๕. ท่อย่อย (Lateral Pipe Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำจากท่อประธานให้กับหัวจ่ายน้ำ ท่อย่อยอาจจะเป็นชนิดเดียวกับท่อประธานแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีอุปกรณ์หัวจ่ายติดตั้งบนท่อ เพื่อจ่ายน้ำให้กับต้นพืช

ข้อดีของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. ประสิทธิภาพการให้น้ำสูงมาก เพราะว่าสามารถควบคุมน้ำได้ทุกขั้นตอน และมีการสูญเสีย โดยการระเหยน้อย
๒. ค่าใช้จ่ายในการให้น้ำน้อยเพราะไม่ต้องใช้แรงงานในการให้น้ำมาก
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย ดดยการผสมปุ๋ยหรือ สารเคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ไม่มีปัญหาโรคพืชหรือแมลงที่เกี่ยวเนื่องจากการเปียกชื้นของใบ
๕. ลดปัญหาของการแพร่กระจายของวัชพืชเนื่องจากน้ำที่ให้พืชจะเปียกผิวดินเป็นบริเวณแคบๆ เท่านั้น
๖. ไม่มีปัญหาเรื่องลมแรงที่จะพัดพาน้ำไปตกที่อื่น
๗. ไม่ต้องใช้ระบบส่งน้ำขนาดใหญ่หรือเครื่องสูบน้ำที่มีแรงดันสูง
๘. เนื่องการให้ปุ๋ยและสารเคมีโดยการผสมลงไปกับน้ำ ดังนั้นค่าใช้จ่ายสำหรับปุ๋ยและสารเคมี ก็จะลดลงด้วย
๙. ระบบกาครให้น้ำแบบน้ำจะมีระยเวลาการใช้งานที่ยาวนานยกเว้นเรื่องการอุดตันของหัวจ่าย น้ำ
๑๐. สามารถทำการติดตั้งการให้น้ำแบบอัตโนมัติได้ไม่ยาก เช่น ให้น้ำตามกำหนดเวลาที่ตั้งไว้ หรือให้น้ำเมื่อความชื้นของดินในเขตราบลดลงถึงระดับหนึ่งเป็นต้น
๑๑. ไม่มีปัญหาเรื่องอัตราการซึมของน้ำเข้าไปในดิน เพราะอัตราการให้น้ำจะไม่มากพอที่จะ ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้างอยู่แล้ว
๑๒. เนื่องจากปริมาณน้ำที่ให้และที่สูญเสียไปโดยการระเหยน้อยดังนั้นการสะสมของเกลือที่ ติดมากับน้ำในเขตรากพืชจึงไม่มาก
ข้อเสียของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. มีปัญหาเรื่องอุดตันที่หัวจ่ายน้ำมากเนื่องมาจากตะกอนทรายตะไคร่น้ำ หรือเนื่องมาจากการ สะสมตัวของสารเคมีในน้ำ
๒. เนื่องจากบริเวณที่เปียกชื้นไม่กว้างขวางนัก ความเข้มข้นของเกลือซึ่งมักจะเกิดขึ้นในบริเวณ รอบนอกของส่วนที่เปียกชื้นจึงมักจะสูงและอาจจะเป็นอันตรายต่อพืชได้
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย โดยการผสมปุ๋ยหรือ เคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ค่าลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูงเพราะจะต้องมีอุปกรณ์หลายอย่าง
การที่จะพิจารณาที่นำระบบการให้น้ำแบบประหยัดมาใช้ ควรจะมีการพิจารณาดังนี้
๑. เมื่อมีการให้น้ำแล้ว ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใดคุ้มค่า หรือไม่
๒. ราคาของผลผลิตนั้นคุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายที่เสียไปหรือไม่กับการที่จะลงทุนติดตั้งระบบการ ให้น้ำพืช
๓. จะต้องแน่ใจแล้วว่า แหล่งน้ำที่มีอยู่นั้นมีเพียงพอกับการให้น้ำตลอดฤดูกาลเพาะปลูก


เป็นการให้น้ำแก่พืชที่จุดใด้จุดหนึ่งหรือหลายๆ จุดบนผิวดินหรือใน เขตรากพืช โดยอัตราของน้ำที่ให้นั้นไม่มากพอที่จุทำให้ดินในเขตรากพืชเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง ปกติแล้วผิวดินจะเปียกแต่ตรงจุดที่ให้น้ำเท่านั้นน้ำที่ให้แก่พืชอาจจุอยู่ในรูปของเม็ดน้ำเล็กๆ ซึ่งฉีดจากหัวฉีดขนาดเล็กที่ต้องการแรงดันไม่มากนัก เรียกว่า แบบมินิสปริงเกลอร์ หรือเป็นหยดน้ำเล็กๆ ที่ไหลจากหัวน้ำหยดหรือท่อพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ๑ ถึง ๒ มิลลิเมตร เรียกว่าแบบน้ำหยด
หัวฉีดหรือท่อพลาสติกนี้จะวางในบริเวณโคนต้นพืช โดยมีท่อพลาสติกหรือสายยางขนาดใหญ่เป็นท่อจ่ายน้ำ ซึ่งนำน้ำจากท่อประธานอีกทีหนึ่ง จำนวนหัวฉีดหรือท่อพลาสติกจะขึ้นอยู่กับความต้องการน้ำ ของพืช และเนื่องจากจำนวนของท่อหรือหัวฉีดซึ่งทำหน้าที่จ่ายน้ำมีขนาดเล็กมาก น้ำที่ใช้จึงต้องปราศ จากตะกอนที่มาอุดตันในท่อพลาสติกหรือหัวฉีด บางครั้งจะต้องให้น้ำผ่านเครื่องกรองตะกอนเสียก่อน
การเลือกใช้การให้น้ำแบบเฉพาะจุด
การให้น้ำแบบนี่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับพื้นที่ที่มีน้อยอย่างจำกัดหรือมีราคาแพงมาก ดินที่เหมาะกับการให้น้ำแบบนี้ โดยเฉพาะน้ำหยดควรจะเป็นดินที่มีเนื้อละเอียดจนถึงค่อนข้าง หยาบ เพราะเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างที่ดี ดินที่มีความโปร่งมากจะทำให้ความชื้นในดิน แผ่นกระจายไปไม่ทั่วเขตรากพืช ถ้าเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างดีแล้วน้ำจะแผ่กระจายได้ดี ซึ่งเป็นผลให้สามารถลด จำนวนหัวจ่ายน้ำลงได้ เนื่องจากว่าการให้น้ำแบบนี้มีระยะการให้น้ำยาวนาน แต่ไม่ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง จึงเหมาะอย่างยิ่ง

สำหรับพืชที่มีรากตื้นและต้องการให้ดินมีความชื้นสูงอยู่แบบนี้ใช้ได้ดีกับพืช ยืนต้นเหมือนกัน แต่เนื่องจากการลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จึงเลือกใช้กับพืชที่ให้ผลตอบแทนสูง เช่น ไม้ผลต่าง ๆ เป็นต้น
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด คือ
๑. เครื่องสูบน้ำ (Pumping Unit)
จะทำหน้าที่สูบน้ำจากแหล่งน้ำและเพิ่มความดันของน้ำ แล้วส่งไปตามท่อจ่ายน้ำ เครื่องสูบน้ำอาจจะเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้
๒. เครื่องกรองน้ำ (Filter)
 
จะทำหน้าที่กรองเอาเศษวัชพืช ใบไม้เมล็ดพืชและทราย ออกจากน้ำ ถ้าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้ผ่านไปจะทำให้หัวจ่ายน้ำเกิดการอุดตัน เป็นสาเหตุให้ต้นไม้ขาดน้ำเกิดชะงักการเจริญเติบโตถ้าเกิดขึ้นในช่วงที่ออกดอกหรือการให้ผลจะ ทำให้ดอกหรือผลร่วงเกิดความเสียหาย
๓. หัวจ่ายน้ำ (Sprinkler Unit)
ทำหน้าที่จ่ายน้ำในลักษณะหยดหรือฉีดออกมาเป็นฝอยละออง
๔. ท่อประธาน (Mainline Pipe Unit)
ทำหน้าที่ส่งน้ำจากเครื่อง-สูบน้ำไปสูบท่อแยก ท่อประธานอาจจะเป็นท่อพลาสติกหรือท่อโลหะก็ได้
๕. ท่อย่อย (Lateral Pipe Unit)
ทำหน้าที่จ่ายน้ำจากท่อประธานให้กับหัวจ่ายน้ำ ท่อย่อยอาจจะเป็นชนิดเดียวกับท่อประธานแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีอุปกรณ์หัวจ่ายติดตั้งบนท่อ เพื่อจ่ายน้ำให้กับต้นพืช

ข้อดีของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. ประสิทธิภาพการให้น้ำสูงมาก เพราะว่าสามารถควบคุมน้ำได้ทุกขั้นตอน และมีการสูญเสีย โดยการระเหยน้อย
๒. ค่าใช้จ่ายในการให้น้ำน้อยเพราะไม่ต้องใช้แรงงานในการให้น้ำมาก
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย ดดยการผสมปุ๋ยหรือ สารเคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ไม่มีปัญหาโรคพืชหรือแมลงที่เกี่ยวเนื่องจากการเปียกชื้นของใบ
๕. ลดปัญหาของการแพร่กระจายของวัชพืชเนื่องจากน้ำที่ให้พืชจะเปียกผิวดินเป็นบริเวณแคบๆ เท่านั้น
๖. ไม่มีปัญหาเรื่องลมแรงที่จะพัดพาน้ำไปตกที่อื่น
๗. ไม่ต้องใช้ระบบส่งน้ำขนาดใหญ่หรือเครื่องสูบน้ำที่มีแรงดันสูง
๘. เนื่องการให้ปุ๋ยและสารเคมีโดยการผสมลงไปกับน้ำ ดังนั้นค่าใช้จ่ายสำหรับปุ๋ยและสารเคมี ก็จะลดลงด้วย
๙. ระบบกาครให้น้ำแบบน้ำจะมีระยเวลาการใช้งานที่ยาวนานยกเว้นเรื่องการอุดตันของหัวจ่าย น้ำ
๑๐. สามารถทำการติดตั้งการให้น้ำแบบอัตโนมัติได้ไม่ยาก เช่น ให้น้ำตามกำหนดเวลาที่ตั้งไว้ หรือให้น้ำเมื่อความชื้นของดินในเขตราบลดลงถึงระดับหนึ่งเป็นต้น
๑๑. ไม่มีปัญหาเรื่องอัตราการซึมของน้ำเข้าไปในดิน เพราะอัตราการให้น้ำจะไม่มากพอที่จะ ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้างอยู่แล้ว
๑๒. เนื่องจากปริมาณน้ำที่ให้และที่สูญเสียไปโดยการระเหยน้อยดังนั้นการสะสมของเกลือที่ ติดมากับน้ำในเขตรากพืชจึงไม่มาก
ข้อเสียของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. มีปัญหาเรื่องอุดตันที่หัวจ่ายน้ำมากเนื่องมาจากตะกอนทรายตะไคร่น้ำ หรือเนื่องมาจากการ สะสมตัวของสารเคมีในน้ำ
๒. เนื่องจากบริเวณที่เปียกชื้นไม่กว้างขวางนัก ความเข้มข้นของเกลือซึ่งมักจะเกิดขึ้นในบริเวณ รอบนอกของส่วนที่เปียกชื้นจึงมักจะสูงและอาจจะเป็นอันตรายต่อพืชได้
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย โดยการผสมปุ๋ยหรือ เคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ค่าลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูงเพราะจะต้องมีอุปกรณ์หลายอย่าง
การที่จะพิจารณาที่นำระบบการให้น้ำแบบประหยัดมาใช้ ควรจะมีการพิจารณาดังนี้
๑. เมื่อมีการให้น้ำแล้ว ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใดคุ้มค่า หรือไม่
๒. ราคาของผลผลิตนั้นคุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายที่เสียไปหรือไม่กับการที่จะลงทุนติดตั้งระบบการ ให้น้ำพืช
๓. จะต้องแน่ใจแล้วว่า แหล่งน้ำที่มีอยู่นั้นมีเพียงพอกับการให้น้ำตลอดฤดูกาลเพาะปลูก
 
 
เป็นการให้น้ำแก่พืชที่จุดใด้จุดหนึ่งหรือหลายๆ จุดบนผิวดินหรือใน เขตรากพืช โดยอัตราของน้ำที่ให้นั้นไม่มากพอที่จุทำให้ดินในเขตรากพืชเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง ปกติแล้วผิวดินจะเปียกแต่ตรงจุดที่ให้น้ำเท่านั้นน้ำที่ให้แก่พืชอาจจุอยู่ในรูปของเม็ดน้ำเล็กๆ ซึ่งฉีดจากหัวฉีดขนาดเล็กที่ต้องการแรงดันไม่มากนัก เรียกว่า แบบมินิสปริงเกลอร์ หรือเป็นหยดน้ำเล็กๆ ที่ไหลจากหัวน้ำหยดหรือท่อพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ๑ ถึง ๒ มิลลิเมตร เรียกว่าแบบน้ำหยด

หัวฉีดหรือท่อพลาสติกนี้จะวางในบริเวณโคนต้นพืช โดยมีท่อพลาสติกหรือสายยางขนาดใหญ่เป็นท่อจ่ายน้ำ ซึ่งนำน้ำจากท่อประธานอีกทีหนึ่ง จำนวนหัวฉีดหรือท่อพลาสติกจะขึ้นอยู่กับความต้องการน้ำ ของพืช และเนื่องจากจำนวนของท่อหรือหัวฉีดซึ่งทำหน้าที่จ่ายน้ำมีขนาดเล็กมาก น้ำที่ใช้จึงต้องปราศ จากตะกอนที่มาอุดตันในท่อพลาสติกหรือหัวฉีด บางครั้งจะต้องให้น้ำผ่านเครื่องกรองตะกอนเสียก่อน

การเลือกใช้การให้น้ำแบบเฉพาะจุด
การให้น้ำแบบนี่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับพื้นที่ที่มีน้อยอย่างจำกัดหรือมีราคาแพงมาก ดินที่เหมาะกับการให้น้ำแบบนี้ โดยเฉพาะน้ำหยดควรจะเป็นดินที่มีเนื้อละเอียดจนถึงค่อนข้าง หยาบ เพราะเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างที่ดี ดินที่มีความโปร่งมากจะทำให้ความชื้นในดิน แผ่นกระจายไปไม่ทั่วเขตรากพืช ถ้าเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างดีแล้วน้ำจะแผ่กระจายได้ดี ซึ่งเป็นผลให้สามารถลด จำนวนหัวจ่ายน้ำลงได้ เนื่องจากว่าการให้น้ำแบบนี้มีระยะการให้น้ำยาวนาน แต่ไม่ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง จึงเหมาะอย่างยิ่ง

สำหรับพืชที่มีรากตื้นและต้องการให้ดินมีความชื้นสูงอยู่แบบนี้ใช้ได้ดีกับพืช ยืนต้นเหมือนกัน แต่เนื่องจากการลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จึงเลือกใช้กับพืชที่ให้ผลตอบแทนสูง เช่น ไม้ผลต่าง ๆ เป็นต้น
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด คือ
๑. เครื่องสูบน้ำ (Pumping Unit)

จะทำหน้าที่สูบน้ำจากแหล่งน้ำและเพิ่มความดันของน้ำ แล้วส่งไปตามท่อจ่ายน้ำ เครื่องสูบน้ำอาจจะเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้
๒. เครื่องกรองน้ำ (Filter)

จะทำหน้าที่กรองเอาเศษวัชพืช ใบไม้เมล็ดพืชและทราย ออกจากน้ำ ถ้าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้ผ่านไปจะทำให้หัวจ่ายน้ำเกิดการอุดตัน เป็นสาเหตุให้ต้นไม้ขาดน้ำเกิดชะงักการเจริญเติบโตถ้าเกิดขึ้นในช่วงที่ออกดอกหรือการให้ผลจะ ทำให้ดอกหรือผลร่วงเกิดความเสียหาย
๓. หัวจ่ายน้ำ (Sprinkler Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำในลักษณะหยดหรือฉีดออกมาเป็นฝอยละออง
๔. ท่อประธาน (Mainline Pipe Unit)

ทำหน้าที่ส่งน้ำจากเครื่อง-สูบน้ำไปสูบท่อแยก ท่อประธานอาจจะเป็นท่อพลาสติกหรือท่อโลหะก็ได้
๕. ท่อย่อย (Lateral Pipe Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำจากท่อประธานให้กับหัวจ่ายน้ำ ท่อย่อยอาจจะเป็นชนิดเดียวกับท่อประธานแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีอุปกรณ์หัวจ่ายติดตั้งบนท่อ เพื่อจ่ายน้ำให้กับต้นพืช

ข้อดีของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. ประสิทธิภาพการให้น้ำสูงมาก เพราะว่าสามารถควบคุมน้ำได้ทุกขั้นตอน และมีการสูญเสีย โดยการระเหยน้อย
๒. ค่าใช้จ่ายในการให้น้ำน้อยเพราะไม่ต้องใช้แรงงานในการให้น้ำมาก
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย ดดยการผสมปุ๋ยหรือ สารเคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ไม่มีปัญหาโรคพืชหรือแมลงที่เกี่ยวเนื่องจากการเปียกชื้นของใบ
๕. ลดปัญหาของการแพร่กระจายของวัชพืชเนื่องจากน้ำที่ให้พืชจะเปียกผิวดินเป็นบริเวณแคบๆ เท่านั้น
๖. ไม่มีปัญหาเรื่องลมแรงที่จะพัดพาน้ำไปตกที่อื่น
๗. ไม่ต้องใช้ระบบส่งน้ำขนาดใหญ่หรือเครื่องสูบน้ำที่มีแรงดันสูง
๘. เนื่องการให้ปุ๋ยและสารเคมีโดยการผสมลงไปกับน้ำ ดังนั้นค่าใช้จ่ายสำหรับปุ๋ยและสารเคมี ก็จะลดลงด้วย
๙. ระบบกาครให้น้ำแบบน้ำจะมีระยเวลาการใช้งานที่ยาวนานยกเว้นเรื่องการอุดตันของหัวจ่าย น้ำ
๑๐. สามารถทำการติดตั้งการให้น้ำแบบอัตโนมัติได้ไม่ยาก เช่น ให้น้ำตามกำหนดเวลาที่ตั้งไว้ หรือให้น้ำเมื่อความชื้นของดินในเขตราบลดลงถึงระดับหนึ่งเป็นต้น
๑๑. ไม่มีปัญหาเรื่องอัตราการซึมของน้ำเข้าไปในดิน เพราะอัตราการให้น้ำจะไม่มากพอที่จะ ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้างอยู่แล้ว
๑๒. เนื่องจากปริมาณน้ำที่ให้และที่สูญเสียไปโดยการระเหยน้อยดังนั้นการสะสมของเกลือที่ ติดมากับน้ำในเขตรากพืชจึงไม่มาก
ข้อเสียของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. มีปัญหาเรื่องอุดตันที่หัวจ่ายน้ำมากเนื่องมาจากตะกอนทรายตะไคร่น้ำ หรือเนื่องมาจากการ สะสมตัวของสารเคมีในน้ำ
๒. เนื่องจากบริเวณที่เปียกชื้นไม่กว้างขวางนัก ความเข้มข้นของเกลือซึ่งมักจะเกิดขึ้นในบริเวณ รอบนอกของส่วนที่เปียกชื้นจึงมักจะสูงและอาจจะเป็นอันตรายต่อพืชได้
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย โดยการผสมปุ๋ยหรือ เคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ค่าลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูงเพราะจะต้องมีอุปกรณ์หลายอย่าง
การที่จะพิจารณาที่นำระบบการให้น้ำแบบประหยัดมาใช้ ควรจะมีการพิจารณาดังนี้
๑. เมื่อมีการให้น้ำแล้ว ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใดคุ้มค่า หรือไม่
๒. ราคาของผลผลิตนั้นคุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายที่เสียไปหรือไม่กับการที่จะลงทุนติดตั้งระบบการ ให้น้ำพืช
๓. จะต้องแน่ใจแล้วว่า แหล่งน้ำที่มีอยู่นั้นมีเพียงพอกับการให้น้ำตลอดฤดูกาลเพาะปลูก
 
 
 
เป็นการให้น้ำแก่พืชที่จุดใด้จุดหนึ่งหรือหลายๆ จุดบนผิวดินหรือใน เขตรากพืช โดยอัตราของน้ำที่ให้นั้นไม่มากพอที่จุทำให้ดินในเขตรากพืชเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง ปกติแล้วผิวดินจะเปียกแต่ตรงจุดที่ให้น้ำเท่านั้นน้ำที่ให้แก่พืชอาจจุอยู่ในรูปของเม็ดน้ำเล็กๆ ซึ่งฉีดจากหัวฉีดขนาดเล็กที่ต้องการแรงดันไม่มากนัก เรียกว่า แบบมินิสปริงเกลอร์ หรือเป็นหยดน้ำเล็กๆ ที่ไหลจากหัวน้ำหยดหรือท่อพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ๑ ถึง ๒ มิลลิเมตร เรียกว่าแบบน้ำหยด

หัวฉีดหรือท่อพลาสติกนี้จะวางในบริเวณโคนต้นพืช โดยมีท่อพลาสติกหรือสายยางขนาดใหญ่เป็นท่อจ่ายน้ำ ซึ่งนำน้ำจากท่อประธานอีกทีหนึ่ง จำนวนหัวฉีดหรือท่อพลาสติกจะขึ้นอยู่กับความต้องการน้ำ ของพืช และเนื่องจากจำนวนของท่อหรือหัวฉีดซึ่งทำหน้าที่จ่ายน้ำมีขนาดเล็กมาก น้ำที่ใช้จึงต้องปราศ จากตะกอนที่มาอุดตันในท่อพลาสติกหรือหัวฉีด บางครั้งจะต้องให้น้ำผ่านเครื่องกรองตะกอนเสียก่อน

การเลือกใช้การให้น้ำแบบเฉพาะจุด
การให้น้ำแบบนี่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับพื้นที่ที่มีน้อยอย่างจำกัดหรือมีราคาแพงมาก ดินที่เหมาะกับการให้น้ำแบบนี้ โดยเฉพาะน้ำหยดควรจะเป็นดินที่มีเนื้อละเอียดจนถึงค่อนข้าง หยาบ เพราะเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างที่ดี ดินที่มีความโปร่งมากจะทำให้ความชื้นในดิน แผ่นกระจายไปไม่ทั่วเขตรากพืช ถ้าเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างดีแล้วน้ำจะแผ่กระจายได้ดี ซึ่งเป็นผลให้สามารถลด จำนวนหัวจ่ายน้ำลงได้ เนื่องจากว่าการให้น้ำแบบนี้มีระยะการให้น้ำยาวนาน แต่ไม่ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง จึงเหมาะอย่างยิ่ง

สำหรับพืชที่มีรากตื้นและต้องการให้ดินมีความชื้นสูงอยู่แบบนี้ใช้ได้ดีกับพืช ยืนต้นเหมือนกัน แต่เนื่องจากการลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จึงเลือกใช้กับพืชที่ให้ผลตอบแทนสูง เช่น ไม้ผลต่าง ๆ เป็นต้น
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด คือ
๑. เครื่องสูบน้ำ (Pumping Unit)

จะทำหน้าที่สูบน้ำจากแหล่งน้ำและเพิ่มความดันของน้ำ แล้วส่งไปตามท่อจ่ายน้ำ เครื่องสูบน้ำอาจจะเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้
๒. เครื่องกรองน้ำ (Filter)

จะทำหน้าที่กรองเอาเศษวัชพืช ใบไม้เมล็ดพืชและทราย ออกจากน้ำ ถ้าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้ผ่านไปจะทำให้หัวจ่ายน้ำเกิดการอุดตัน เป็นสาเหตุให้ต้นไม้ขาดน้ำเกิดชะงักการเจริญเติบโตถ้าเกิดขึ้นในช่วงที่ออกดอกหรือการให้ผลจะ ทำให้ดอกหรือผลร่วงเกิดความเสียหาย
๓. หัวจ่ายน้ำ (Sprinkler Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำในลักษณะหยดหรือฉีดออกมาเป็นฝอยละออง
๔. ท่อประธาน (Mainline Pipe Unit)

ทำหน้าที่ส่งน้ำจากเครื่อง-สูบน้ำไปสูบท่อแยก ท่อประธานอาจจะเป็นท่อพลาสติกหรือท่อโลหะก็ได้
๕. ท่อย่อย (Lateral Pipe Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำจากท่อประธานให้กับหัวจ่ายน้ำ ท่อย่อยอาจจะเป็นชนิดเดียวกับท่อประธานแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีอุปกรณ์หัวจ่ายติดตั้งบนท่อ เพื่อจ่ายน้ำให้กับต้นพืช

ข้อดีของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. ประสิทธิภาพการให้น้ำสูงมาก เพราะว่าสามารถควบคุมน้ำได้ทุกขั้นตอน และมีการสูญเสีย โดยการระเหยน้อย
๒. ค่าใช้จ่ายในการให้น้ำน้อยเพราะไม่ต้องใช้แรงงานในการให้น้ำมาก
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย ดดยการผสมปุ๋ยหรือ สารเคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ไม่มีปัญหาโรคพืชหรือแมลงที่เกี่ยวเนื่องจากการเปียกชื้นของใบ
๕. ลดปัญหาของการแพร่กระจายของวัชพืชเนื่องจากน้ำที่ให้พืชจะเปียกผิวดินเป็นบริเวณแคบๆ เท่านั้น
๖. ไม่มีปัญหาเรื่องลมแรงที่จะพัดพาน้ำไปตกที่อื่น
๗. ไม่ต้องใช้ระบบส่งน้ำขนาดใหญ่หรือเครื่องสูบน้ำที่มีแรงดันสูง
๘. เนื่องการให้ปุ๋ยและสารเคมีโดยการผสมลงไปกับน้ำ ดังนั้นค่าใช้จ่ายสำหรับปุ๋ยและสารเคมี ก็จะลดลงด้วย
๙. ระบบกาครให้น้ำแบบน้ำจะมีระยเวลาการใช้งานที่ยาวนานยกเว้นเรื่องการอุดตันของหัวจ่าย น้ำ
๑๐. สามารถทำการติดตั้งการให้น้ำแบบอัตโนมัติได้ไม่ยาก เช่น ให้น้ำตามกำหนดเวลาที่ตั้งไว้ หรือให้น้ำเมื่อความชื้นของดินในเขตราบลดลงถึงระดับหนึ่งเป็นต้น
๑๑. ไม่มีปัญหาเรื่องอัตราการซึมของน้ำเข้าไปในดิน เพราะอัตราการให้น้ำจะไม่มากพอที่จะ ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้างอยู่แล้ว
๑๒. เนื่องจากปริมาณน้ำที่ให้และที่สูญเสียไปโดยการระเหยน้อยดังนั้นการสะสมของเกลือที่ ติดมากับน้ำในเขตรากพืชจึงไม่มาก
ข้อเสียของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. มีปัญหาเรื่องอุดตันที่หัวจ่ายน้ำมากเนื่องมาจากตะกอนทรายตะไคร่น้ำ หรือเนื่องมาจากการ สะสมตัวของสารเคมีในน้ำ
๒. เนื่องจากบริเวณที่เปียกชื้นไม่กว้างขวางนัก ความเข้มข้นของเกลือซึ่งมักจะเกิดขึ้นในบริเวณ รอบนอกของส่วนที่เปียกชื้นจึงมักจะสูงและอาจจะเป็นอันตรายต่อพืชได้
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย โดยการผสมปุ๋ยหรือ เคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ค่าลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูงเพราะจะต้องมีอุปกรณ์หลายอย่าง
การที่จะพิจารณาที่นำระบบการให้น้ำแบบประหยัดมาใช้ ควรจะมีการพิจารณาดังนี้
๑. เมื่อมีการให้น้ำแล้ว ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใดคุ้มค่า หรือไม่
๒. ราคาของผลผลิตนั้นคุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายที่เสียไปหรือไม่กับการที่จะลงทุนติดตั้งระบบการ ให้น้ำพืช
๓. จะต้องแน่ใจแล้วว่า แหล่งน้ำที่มีอยู่นั้นมีเพียงพอกับการให้น้ำตลอดฤดูกาลเพาะปลูก
 
 
 
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น