วันอาทิตย์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2554

การให้น้ำแบบเฉพาะจุด

          เป็นการให้น้ำแก่พืชที่จุดใด้จุดหนึ่งหรือหลายๆ จุดบนผิวดินหรือใน เขตรากพืช โดยอัตราของน้ำที่ให้นั้นไม่มากพอที่จุทำให้ดินในเขตรากพืชเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง ปกติแล้วผิวดินจะเปียกแต่ตรงจุดที่ให้น้ำเท่านั้นน้ำที่ให้แก่พืชอาจจุอยู่ในรูปของเม็ดน้ำเล็กๆ ซึ่งฉีดจากหัวฉีดขนาดเล็กที่ต้องการแรงดันไม่มากนัก เรียกว่า แบบมินิสปริงเกลอร์ หรือเป็นหยดน้ำเล็กๆ ที่ไหลจากหัวน้ำหยดหรือท่อพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ๑ ถึง ๒ มิลลิเมตร เรียกว่าแบบน้ำหยด
หัวฉีดหรือท่อพลาสติกนี้จะวางในบริเวณโคนต้นพืช โดยมีท่อพลาสติกหรือสายยางขนาดใหญ่เป็นท่อจ่ายน้ำ ซึ่งนำน้ำจากท่อประธานอีกทีหนึ่ง จำนวนหัวฉีดหรือท่อพลาสติกจะขึ้นอยู่กับความต้องการน้ำ ของพืช และเนื่องจากจำนวนของท่อหรือหัวฉีดซึ่งทำหน้าที่จ่ายน้ำมีขนาดเล็กมาก น้ำที่ใช้จึงต้องปราศ จากตะกอนที่มาอุดตันในท่อพลาสติกหรือหัวฉีด บางครั้งจะต้องให้น้ำผ่านเครื่องกรองตะกอนเสียก่อน

การเลือกใช้การให้น้ำแบบเฉพาะจุด
การให้น้ำแบบนี่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับพื้นที่ที่มีน้อยอย่างจำกัดหรือมีราคาแพงมาก ดินที่เหมาะกับการให้น้ำแบบนี้ โดยเฉพาะน้ำหยดควรจะเป็นดินที่มีเนื้อละเอียดจนถึงค่อนข้าง หยาบ เพราะเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างที่ดี ดินที่มีความโปร่งมากจะทำให้ความชื้นในดิน แผ่นกระจายไปไม่ทั่วเขตรากพืช ถ้าเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างดีแล้วน้ำจะแผ่กระจายได้ดี ซึ่งเป็นผลให้สามารถลด จำนวนหัวจ่ายน้ำลงได้ เนื่องจากว่าการให้น้ำแบบนี้มีระยะการให้น้ำยาวนาน แต่ไม่ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง จึงเหมาะอย่างยิ่ง
สำหรับพืชที่มีรากตื้นและต้องการให้ดินมีความชื้นสูงอยู่แบบนี้ใช้ได้ดีกับพืช ยืนต้นเหมือนกัน แต่เนื่องจากการลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จึงเลือกใช้กับพืชที่ให้ผลตอบแทนสูง เช่น ไม้ผลต่าง ๆ เป็นต้น
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด คือ
๑. เครื่องสูบน้ำ (Pumping Unit)

จะทำหน้าที่สูบน้ำจากแหล่งน้ำและเพิ่มความดันของน้ำ แล้วส่งไปตามท่อจ่ายน้ำ เครื่องสูบน้ำอาจจะเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้
๒. เครื่องกรองน้ำ (Filter)

จะทำหน้าที่กรองเอาเศษวัชพืช ใบไม้เมล็ดพืชและทราย ออกจากน้ำ ถ้าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้ผ่านไปจะทำให้หัวจ่ายน้ำเกิดการอุดตัน เป็นสาเหตุให้ต้นไม้ขาดน้ำเกิดชะงักการเจริญเติบโตถ้าเกิดขึ้นในช่วงที่ออกดอกหรือการให้ผลจะ ทำให้ดอกหรือผลร่วงเกิดความเสียหาย
๓. หัวจ่ายน้ำ (Sprinkler Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำในลักษณะหยดหรือฉีดออกมาเป็นฝอยละออง
๔. ท่อประธาน (Mainline Pipe Unit)

ทำหน้าที่ส่งน้ำจากเครื่อง-สูบน้ำไปสูบท่อแยก ท่อประธานอาจจะเป็นท่อพลาสติกหรือท่อโลหะก็ได้
๕. ท่อย่อย (Lateral Pipe Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำจากท่อประธานให้กับหัวจ่ายน้ำ ท่อย่อยอาจจะเป็นชนิดเดียวกับท่อประธานแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีอุปกรณ์หัวจ่ายติดตั้งบนท่อ เพื่อจ่ายน้ำให้กับต้นพืช

ข้อดีของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. ประสิทธิภาพการให้น้ำสูงมาก เพราะว่าสามารถควบคุมน้ำได้ทุกขั้นตอน และมีการสูญเสีย โดยการระเหยน้อย
๒. ค่าใช้จ่ายในการให้น้ำน้อยเพราะไม่ต้องใช้แรงงานในการให้น้ำมาก
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย ดดยการผสมปุ๋ยหรือ สารเคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ไม่มีปัญหาโรคพืชหรือแมลงที่เกี่ยวเนื่องจากการเปียกชื้นของใบ
๕. ลดปัญหาของการแพร่กระจายของวัชพืชเนื่องจากน้ำที่ให้พืชจะเปียกผิวดินเป็นบริเวณแคบๆ เท่านั้น
๖. ไม่มีปัญหาเรื่องลมแรงที่จะพัดพาน้ำไปตกที่อื่น
๗. ไม่ต้องใช้ระบบส่งน้ำขนาดใหญ่หรือเครื่องสูบน้ำที่มีแรงดันสูง
๘. เนื่องการให้ปุ๋ยและสารเคมีโดยการผสมลงไปกับน้ำ ดังนั้นค่าใช้จ่ายสำหรับปุ๋ยและสารเคมี ก็จะลดลงด้วย
๙. ระบบกาครให้น้ำแบบน้ำจะมีระยเวลาการใช้งานที่ยาวนานยกเว้นเรื่องการอุดตันของหัวจ่าย น้ำ
๑๐. สามารถทำการติดตั้งการให้น้ำแบบอัตโนมัติได้ไม่ยาก เช่น ให้น้ำตามกำหนดเวลาที่ตั้งไว้ หรือให้น้ำเมื่อความชื้นของดินในเขตราบลดลงถึงระดับหนึ่งเป็นต้น
๑๑. ไม่มีปัญหาเรื่องอัตราการซึมของน้ำเข้าไปในดิน เพราะอัตราการให้น้ำจะไม่มากพอที่จะ ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้างอยู่แล้ว
๑๒. เนื่องจากปริมาณน้ำที่ให้และที่สูญเสียไปโดยการระเหยน้อยดังนั้นการสะสมของเกลือที่ ติดมากับน้ำในเขตรากพืชจึงไม่มาก
ข้อเสียของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. มีปัญหาเรื่องอุดตันที่หัวจ่ายน้ำมากเนื่องมาจากตะกอนทรายตะไคร่น้ำ หรือเนื่องมาจากการ สะสมตัวของสารเคมีในน้ำ
๒. เนื่องจากบริเวณที่เปียกชื้นไม่กว้างขวางนัก ความเข้มข้นของเกลือซึ่งมักจะเกิดขึ้นในบริเวณ รอบนอกของส่วนที่เปียกชื้นจึงมักจะสูงและอาจจะเป็นอันตรายต่อพืชได้
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย โดยการผสมปุ๋ยหรือ เคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ค่าลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูงเพราะจะต้องมีอุปกรณ์หลายอย่าง
การที่จะพิจารณาที่นำระบบการให้น้ำแบบประหยัดมาใช้ ควรจะมีการพิจารณาดังนี้
๑. เมื่อมีการให้น้ำแล้ว ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใดคุ้มค่า หรือไม่
๒. ราคาของผลผลิตนั้นคุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายที่เสียไปหรือไม่กับการที่จะลงทุนติดตั้งระบบการ ให้น้ำพืช
๓. จะต้องแน่ใจแล้วว่า แหล่งน้ำที่มีอยู่นั้นมีเพียงพอกับการให้น้ำตลอดฤดูกาลเพาะปลูก


เป็นการให้น้ำแก่พืชที่จุดใด้จุดหนึ่งหรือหลายๆ จุดบนผิวดินหรือใน เขตรากพืช โดยอัตราของน้ำที่ให้นั้นไม่มากพอที่จุทำให้ดินในเขตรากพืชเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง ปกติแล้วผิวดินจะเปียกแต่ตรงจุดที่ให้น้ำเท่านั้นน้ำที่ให้แก่พืชอาจจุอยู่ในรูปของเม็ดน้ำเล็กๆ ซึ่งฉีดจากหัวฉีดขนาดเล็กที่ต้องการแรงดันไม่มากนัก เรียกว่า แบบมินิสปริงเกลอร์ หรือเป็นหยดน้ำเล็กๆ ที่ไหลจากหัวน้ำหยดหรือท่อพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ๑ ถึง ๒ มิลลิเมตร เรียกว่าแบบน้ำหยด
หัวฉีดหรือท่อพลาสติกนี้จะวางในบริเวณโคนต้นพืช โดยมีท่อพลาสติกหรือสายยางขนาดใหญ่เป็นท่อจ่ายน้ำ ซึ่งนำน้ำจากท่อประธานอีกทีหนึ่ง จำนวนหัวฉีดหรือท่อพลาสติกจะขึ้นอยู่กับความต้องการน้ำ ของพืช และเนื่องจากจำนวนของท่อหรือหัวฉีดซึ่งทำหน้าที่จ่ายน้ำมีขนาดเล็กมาก น้ำที่ใช้จึงต้องปราศ จากตะกอนที่มาอุดตันในท่อพลาสติกหรือหัวฉีด บางครั้งจะต้องให้น้ำผ่านเครื่องกรองตะกอนเสียก่อน
การเลือกใช้การให้น้ำแบบเฉพาะจุด
การให้น้ำแบบนี่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับพื้นที่ที่มีน้อยอย่างจำกัดหรือมีราคาแพงมาก ดินที่เหมาะกับการให้น้ำแบบนี้ โดยเฉพาะน้ำหยดควรจะเป็นดินที่มีเนื้อละเอียดจนถึงค่อนข้าง หยาบ เพราะเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างที่ดี ดินที่มีความโปร่งมากจะทำให้ความชื้นในดิน แผ่นกระจายไปไม่ทั่วเขตรากพืช ถ้าเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างดีแล้วน้ำจะแผ่กระจายได้ดี ซึ่งเป็นผลให้สามารถลด จำนวนหัวจ่ายน้ำลงได้ เนื่องจากว่าการให้น้ำแบบนี้มีระยะการให้น้ำยาวนาน แต่ไม่ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง จึงเหมาะอย่างยิ่ง

สำหรับพืชที่มีรากตื้นและต้องการให้ดินมีความชื้นสูงอยู่แบบนี้ใช้ได้ดีกับพืช ยืนต้นเหมือนกัน แต่เนื่องจากการลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จึงเลือกใช้กับพืชที่ให้ผลตอบแทนสูง เช่น ไม้ผลต่าง ๆ เป็นต้น
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด คือ
๑. เครื่องสูบน้ำ (Pumping Unit)
จะทำหน้าที่สูบน้ำจากแหล่งน้ำและเพิ่มความดันของน้ำ แล้วส่งไปตามท่อจ่ายน้ำ เครื่องสูบน้ำอาจจะเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้
๒. เครื่องกรองน้ำ (Filter)
 
จะทำหน้าที่กรองเอาเศษวัชพืช ใบไม้เมล็ดพืชและทราย ออกจากน้ำ ถ้าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้ผ่านไปจะทำให้หัวจ่ายน้ำเกิดการอุดตัน เป็นสาเหตุให้ต้นไม้ขาดน้ำเกิดชะงักการเจริญเติบโตถ้าเกิดขึ้นในช่วงที่ออกดอกหรือการให้ผลจะ ทำให้ดอกหรือผลร่วงเกิดความเสียหาย
๓. หัวจ่ายน้ำ (Sprinkler Unit)
ทำหน้าที่จ่ายน้ำในลักษณะหยดหรือฉีดออกมาเป็นฝอยละออง
๔. ท่อประธาน (Mainline Pipe Unit)
ทำหน้าที่ส่งน้ำจากเครื่อง-สูบน้ำไปสูบท่อแยก ท่อประธานอาจจะเป็นท่อพลาสติกหรือท่อโลหะก็ได้
๕. ท่อย่อย (Lateral Pipe Unit)
ทำหน้าที่จ่ายน้ำจากท่อประธานให้กับหัวจ่ายน้ำ ท่อย่อยอาจจะเป็นชนิดเดียวกับท่อประธานแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีอุปกรณ์หัวจ่ายติดตั้งบนท่อ เพื่อจ่ายน้ำให้กับต้นพืช

ข้อดีของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. ประสิทธิภาพการให้น้ำสูงมาก เพราะว่าสามารถควบคุมน้ำได้ทุกขั้นตอน และมีการสูญเสีย โดยการระเหยน้อย
๒. ค่าใช้จ่ายในการให้น้ำน้อยเพราะไม่ต้องใช้แรงงานในการให้น้ำมาก
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย ดดยการผสมปุ๋ยหรือ สารเคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ไม่มีปัญหาโรคพืชหรือแมลงที่เกี่ยวเนื่องจากการเปียกชื้นของใบ
๕. ลดปัญหาของการแพร่กระจายของวัชพืชเนื่องจากน้ำที่ให้พืชจะเปียกผิวดินเป็นบริเวณแคบๆ เท่านั้น
๖. ไม่มีปัญหาเรื่องลมแรงที่จะพัดพาน้ำไปตกที่อื่น
๗. ไม่ต้องใช้ระบบส่งน้ำขนาดใหญ่หรือเครื่องสูบน้ำที่มีแรงดันสูง
๘. เนื่องการให้ปุ๋ยและสารเคมีโดยการผสมลงไปกับน้ำ ดังนั้นค่าใช้จ่ายสำหรับปุ๋ยและสารเคมี ก็จะลดลงด้วย
๙. ระบบกาครให้น้ำแบบน้ำจะมีระยเวลาการใช้งานที่ยาวนานยกเว้นเรื่องการอุดตันของหัวจ่าย น้ำ
๑๐. สามารถทำการติดตั้งการให้น้ำแบบอัตโนมัติได้ไม่ยาก เช่น ให้น้ำตามกำหนดเวลาที่ตั้งไว้ หรือให้น้ำเมื่อความชื้นของดินในเขตราบลดลงถึงระดับหนึ่งเป็นต้น
๑๑. ไม่มีปัญหาเรื่องอัตราการซึมของน้ำเข้าไปในดิน เพราะอัตราการให้น้ำจะไม่มากพอที่จะ ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้างอยู่แล้ว
๑๒. เนื่องจากปริมาณน้ำที่ให้และที่สูญเสียไปโดยการระเหยน้อยดังนั้นการสะสมของเกลือที่ ติดมากับน้ำในเขตรากพืชจึงไม่มาก
ข้อเสียของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. มีปัญหาเรื่องอุดตันที่หัวจ่ายน้ำมากเนื่องมาจากตะกอนทรายตะไคร่น้ำ หรือเนื่องมาจากการ สะสมตัวของสารเคมีในน้ำ
๒. เนื่องจากบริเวณที่เปียกชื้นไม่กว้างขวางนัก ความเข้มข้นของเกลือซึ่งมักจะเกิดขึ้นในบริเวณ รอบนอกของส่วนที่เปียกชื้นจึงมักจะสูงและอาจจะเป็นอันตรายต่อพืชได้
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย โดยการผสมปุ๋ยหรือ เคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ค่าลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูงเพราะจะต้องมีอุปกรณ์หลายอย่าง
การที่จะพิจารณาที่นำระบบการให้น้ำแบบประหยัดมาใช้ ควรจะมีการพิจารณาดังนี้
๑. เมื่อมีการให้น้ำแล้ว ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใดคุ้มค่า หรือไม่
๒. ราคาของผลผลิตนั้นคุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายที่เสียไปหรือไม่กับการที่จะลงทุนติดตั้งระบบการ ให้น้ำพืช
๓. จะต้องแน่ใจแล้วว่า แหล่งน้ำที่มีอยู่นั้นมีเพียงพอกับการให้น้ำตลอดฤดูกาลเพาะปลูก
 
 
เป็นการให้น้ำแก่พืชที่จุดใด้จุดหนึ่งหรือหลายๆ จุดบนผิวดินหรือใน เขตรากพืช โดยอัตราของน้ำที่ให้นั้นไม่มากพอที่จุทำให้ดินในเขตรากพืชเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง ปกติแล้วผิวดินจะเปียกแต่ตรงจุดที่ให้น้ำเท่านั้นน้ำที่ให้แก่พืชอาจจุอยู่ในรูปของเม็ดน้ำเล็กๆ ซึ่งฉีดจากหัวฉีดขนาดเล็กที่ต้องการแรงดันไม่มากนัก เรียกว่า แบบมินิสปริงเกลอร์ หรือเป็นหยดน้ำเล็กๆ ที่ไหลจากหัวน้ำหยดหรือท่อพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ๑ ถึง ๒ มิลลิเมตร เรียกว่าแบบน้ำหยด

หัวฉีดหรือท่อพลาสติกนี้จะวางในบริเวณโคนต้นพืช โดยมีท่อพลาสติกหรือสายยางขนาดใหญ่เป็นท่อจ่ายน้ำ ซึ่งนำน้ำจากท่อประธานอีกทีหนึ่ง จำนวนหัวฉีดหรือท่อพลาสติกจะขึ้นอยู่กับความต้องการน้ำ ของพืช และเนื่องจากจำนวนของท่อหรือหัวฉีดซึ่งทำหน้าที่จ่ายน้ำมีขนาดเล็กมาก น้ำที่ใช้จึงต้องปราศ จากตะกอนที่มาอุดตันในท่อพลาสติกหรือหัวฉีด บางครั้งจะต้องให้น้ำผ่านเครื่องกรองตะกอนเสียก่อน

การเลือกใช้การให้น้ำแบบเฉพาะจุด
การให้น้ำแบบนี่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับพื้นที่ที่มีน้อยอย่างจำกัดหรือมีราคาแพงมาก ดินที่เหมาะกับการให้น้ำแบบนี้ โดยเฉพาะน้ำหยดควรจะเป็นดินที่มีเนื้อละเอียดจนถึงค่อนข้าง หยาบ เพราะเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างที่ดี ดินที่มีความโปร่งมากจะทำให้ความชื้นในดิน แผ่นกระจายไปไม่ทั่วเขตรากพืช ถ้าเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างดีแล้วน้ำจะแผ่กระจายได้ดี ซึ่งเป็นผลให้สามารถลด จำนวนหัวจ่ายน้ำลงได้ เนื่องจากว่าการให้น้ำแบบนี้มีระยะการให้น้ำยาวนาน แต่ไม่ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง จึงเหมาะอย่างยิ่ง

สำหรับพืชที่มีรากตื้นและต้องการให้ดินมีความชื้นสูงอยู่แบบนี้ใช้ได้ดีกับพืช ยืนต้นเหมือนกัน แต่เนื่องจากการลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จึงเลือกใช้กับพืชที่ให้ผลตอบแทนสูง เช่น ไม้ผลต่าง ๆ เป็นต้น
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด คือ
๑. เครื่องสูบน้ำ (Pumping Unit)

จะทำหน้าที่สูบน้ำจากแหล่งน้ำและเพิ่มความดันของน้ำ แล้วส่งไปตามท่อจ่ายน้ำ เครื่องสูบน้ำอาจจะเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้
๒. เครื่องกรองน้ำ (Filter)

จะทำหน้าที่กรองเอาเศษวัชพืช ใบไม้เมล็ดพืชและทราย ออกจากน้ำ ถ้าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้ผ่านไปจะทำให้หัวจ่ายน้ำเกิดการอุดตัน เป็นสาเหตุให้ต้นไม้ขาดน้ำเกิดชะงักการเจริญเติบโตถ้าเกิดขึ้นในช่วงที่ออกดอกหรือการให้ผลจะ ทำให้ดอกหรือผลร่วงเกิดความเสียหาย
๓. หัวจ่ายน้ำ (Sprinkler Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำในลักษณะหยดหรือฉีดออกมาเป็นฝอยละออง
๔. ท่อประธาน (Mainline Pipe Unit)

ทำหน้าที่ส่งน้ำจากเครื่อง-สูบน้ำไปสูบท่อแยก ท่อประธานอาจจะเป็นท่อพลาสติกหรือท่อโลหะก็ได้
๕. ท่อย่อย (Lateral Pipe Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำจากท่อประธานให้กับหัวจ่ายน้ำ ท่อย่อยอาจจะเป็นชนิดเดียวกับท่อประธานแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีอุปกรณ์หัวจ่ายติดตั้งบนท่อ เพื่อจ่ายน้ำให้กับต้นพืช

ข้อดีของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. ประสิทธิภาพการให้น้ำสูงมาก เพราะว่าสามารถควบคุมน้ำได้ทุกขั้นตอน และมีการสูญเสีย โดยการระเหยน้อย
๒. ค่าใช้จ่ายในการให้น้ำน้อยเพราะไม่ต้องใช้แรงงานในการให้น้ำมาก
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย ดดยการผสมปุ๋ยหรือ สารเคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ไม่มีปัญหาโรคพืชหรือแมลงที่เกี่ยวเนื่องจากการเปียกชื้นของใบ
๕. ลดปัญหาของการแพร่กระจายของวัชพืชเนื่องจากน้ำที่ให้พืชจะเปียกผิวดินเป็นบริเวณแคบๆ เท่านั้น
๖. ไม่มีปัญหาเรื่องลมแรงที่จะพัดพาน้ำไปตกที่อื่น
๗. ไม่ต้องใช้ระบบส่งน้ำขนาดใหญ่หรือเครื่องสูบน้ำที่มีแรงดันสูง
๘. เนื่องการให้ปุ๋ยและสารเคมีโดยการผสมลงไปกับน้ำ ดังนั้นค่าใช้จ่ายสำหรับปุ๋ยและสารเคมี ก็จะลดลงด้วย
๙. ระบบกาครให้น้ำแบบน้ำจะมีระยเวลาการใช้งานที่ยาวนานยกเว้นเรื่องการอุดตันของหัวจ่าย น้ำ
๑๐. สามารถทำการติดตั้งการให้น้ำแบบอัตโนมัติได้ไม่ยาก เช่น ให้น้ำตามกำหนดเวลาที่ตั้งไว้ หรือให้น้ำเมื่อความชื้นของดินในเขตราบลดลงถึงระดับหนึ่งเป็นต้น
๑๑. ไม่มีปัญหาเรื่องอัตราการซึมของน้ำเข้าไปในดิน เพราะอัตราการให้น้ำจะไม่มากพอที่จะ ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้างอยู่แล้ว
๑๒. เนื่องจากปริมาณน้ำที่ให้และที่สูญเสียไปโดยการระเหยน้อยดังนั้นการสะสมของเกลือที่ ติดมากับน้ำในเขตรากพืชจึงไม่มาก
ข้อเสียของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. มีปัญหาเรื่องอุดตันที่หัวจ่ายน้ำมากเนื่องมาจากตะกอนทรายตะไคร่น้ำ หรือเนื่องมาจากการ สะสมตัวของสารเคมีในน้ำ
๒. เนื่องจากบริเวณที่เปียกชื้นไม่กว้างขวางนัก ความเข้มข้นของเกลือซึ่งมักจะเกิดขึ้นในบริเวณ รอบนอกของส่วนที่เปียกชื้นจึงมักจะสูงและอาจจะเป็นอันตรายต่อพืชได้
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย โดยการผสมปุ๋ยหรือ เคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ค่าลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูงเพราะจะต้องมีอุปกรณ์หลายอย่าง
การที่จะพิจารณาที่นำระบบการให้น้ำแบบประหยัดมาใช้ ควรจะมีการพิจารณาดังนี้
๑. เมื่อมีการให้น้ำแล้ว ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใดคุ้มค่า หรือไม่
๒. ราคาของผลผลิตนั้นคุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายที่เสียไปหรือไม่กับการที่จะลงทุนติดตั้งระบบการ ให้น้ำพืช
๓. จะต้องแน่ใจแล้วว่า แหล่งน้ำที่มีอยู่นั้นมีเพียงพอกับการให้น้ำตลอดฤดูกาลเพาะปลูก
 
 
 
เป็นการให้น้ำแก่พืชที่จุดใด้จุดหนึ่งหรือหลายๆ จุดบนผิวดินหรือใน เขตรากพืช โดยอัตราของน้ำที่ให้นั้นไม่มากพอที่จุทำให้ดินในเขตรากพืชเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง ปกติแล้วผิวดินจะเปียกแต่ตรงจุดที่ให้น้ำเท่านั้นน้ำที่ให้แก่พืชอาจจุอยู่ในรูปของเม็ดน้ำเล็กๆ ซึ่งฉีดจากหัวฉีดขนาดเล็กที่ต้องการแรงดันไม่มากนัก เรียกว่า แบบมินิสปริงเกลอร์ หรือเป็นหยดน้ำเล็กๆ ที่ไหลจากหัวน้ำหยดหรือท่อพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ๑ ถึง ๒ มิลลิเมตร เรียกว่าแบบน้ำหยด

หัวฉีดหรือท่อพลาสติกนี้จะวางในบริเวณโคนต้นพืช โดยมีท่อพลาสติกหรือสายยางขนาดใหญ่เป็นท่อจ่ายน้ำ ซึ่งนำน้ำจากท่อประธานอีกทีหนึ่ง จำนวนหัวฉีดหรือท่อพลาสติกจะขึ้นอยู่กับความต้องการน้ำ ของพืช และเนื่องจากจำนวนของท่อหรือหัวฉีดซึ่งทำหน้าที่จ่ายน้ำมีขนาดเล็กมาก น้ำที่ใช้จึงต้องปราศ จากตะกอนที่มาอุดตันในท่อพลาสติกหรือหัวฉีด บางครั้งจะต้องให้น้ำผ่านเครื่องกรองตะกอนเสียก่อน

การเลือกใช้การให้น้ำแบบเฉพาะจุด
การให้น้ำแบบนี่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับพื้นที่ที่มีน้อยอย่างจำกัดหรือมีราคาแพงมาก ดินที่เหมาะกับการให้น้ำแบบนี้ โดยเฉพาะน้ำหยดควรจะเป็นดินที่มีเนื้อละเอียดจนถึงค่อนข้าง หยาบ เพราะเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างที่ดี ดินที่มีความโปร่งมากจะทำให้ความชื้นในดิน แผ่นกระจายไปไม่ทั่วเขตรากพืช ถ้าเป็นดินที่มีการไหลซึมทางด้านข้างดีแล้วน้ำจะแผ่กระจายได้ดี ซึ่งเป็นผลให้สามารถลด จำนวนหัวจ่ายน้ำลงได้ เนื่องจากว่าการให้น้ำแบบนี้มีระยะการให้น้ำยาวนาน แต่ไม่ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้าง จึงเหมาะอย่างยิ่ง

สำหรับพืชที่มีรากตื้นและต้องการให้ดินมีความชื้นสูงอยู่แบบนี้ใช้ได้ดีกับพืช ยืนต้นเหมือนกัน แต่เนื่องจากการลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่จึงเลือกใช้กับพืชที่ให้ผลตอบแทนสูง เช่น ไม้ผลต่าง ๆ เป็นต้น
อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด คือ
๑. เครื่องสูบน้ำ (Pumping Unit)

จะทำหน้าที่สูบน้ำจากแหล่งน้ำและเพิ่มความดันของน้ำ แล้วส่งไปตามท่อจ่ายน้ำ เครื่องสูบน้ำอาจจะเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้
๒. เครื่องกรองน้ำ (Filter)

จะทำหน้าที่กรองเอาเศษวัชพืช ใบไม้เมล็ดพืชและทราย ออกจากน้ำ ถ้าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้ผ่านไปจะทำให้หัวจ่ายน้ำเกิดการอุดตัน เป็นสาเหตุให้ต้นไม้ขาดน้ำเกิดชะงักการเจริญเติบโตถ้าเกิดขึ้นในช่วงที่ออกดอกหรือการให้ผลจะ ทำให้ดอกหรือผลร่วงเกิดความเสียหาย
๓. หัวจ่ายน้ำ (Sprinkler Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำในลักษณะหยดหรือฉีดออกมาเป็นฝอยละออง
๔. ท่อประธาน (Mainline Pipe Unit)

ทำหน้าที่ส่งน้ำจากเครื่อง-สูบน้ำไปสูบท่อแยก ท่อประธานอาจจะเป็นท่อพลาสติกหรือท่อโลหะก็ได้
๕. ท่อย่อย (Lateral Pipe Unit)

ทำหน้าที่จ่ายน้ำจากท่อประธานให้กับหัวจ่ายน้ำ ท่อย่อยอาจจะเป็นชนิดเดียวกับท่อประธานแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีอุปกรณ์หัวจ่ายติดตั้งบนท่อ เพื่อจ่ายน้ำให้กับต้นพืช

ข้อดีของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. ประสิทธิภาพการให้น้ำสูงมาก เพราะว่าสามารถควบคุมน้ำได้ทุกขั้นตอน และมีการสูญเสีย โดยการระเหยน้อย
๒. ค่าใช้จ่ายในการให้น้ำน้อยเพราะไม่ต้องใช้แรงงานในการให้น้ำมาก
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย ดดยการผสมปุ๋ยหรือ สารเคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ไม่มีปัญหาโรคพืชหรือแมลงที่เกี่ยวเนื่องจากการเปียกชื้นของใบ
๕. ลดปัญหาของการแพร่กระจายของวัชพืชเนื่องจากน้ำที่ให้พืชจะเปียกผิวดินเป็นบริเวณแคบๆ เท่านั้น
๖. ไม่มีปัญหาเรื่องลมแรงที่จะพัดพาน้ำไปตกที่อื่น
๗. ไม่ต้องใช้ระบบส่งน้ำขนาดใหญ่หรือเครื่องสูบน้ำที่มีแรงดันสูง
๘. เนื่องการให้ปุ๋ยและสารเคมีโดยการผสมลงไปกับน้ำ ดังนั้นค่าใช้จ่ายสำหรับปุ๋ยและสารเคมี ก็จะลดลงด้วย
๙. ระบบกาครให้น้ำแบบน้ำจะมีระยเวลาการใช้งานที่ยาวนานยกเว้นเรื่องการอุดตันของหัวจ่าย น้ำ
๑๐. สามารถทำการติดตั้งการให้น้ำแบบอัตโนมัติได้ไม่ยาก เช่น ให้น้ำตามกำหนดเวลาที่ตั้งไว้ หรือให้น้ำเมื่อความชื้นของดินในเขตราบลดลงถึงระดับหนึ่งเป็นต้น
๑๑. ไม่มีปัญหาเรื่องอัตราการซึมของน้ำเข้าไปในดิน เพราะอัตราการให้น้ำจะไม่มากพอที่จะ ทำให้ดินเปียกชุ่มเป็นบริเวณกว้างอยู่แล้ว
๑๒. เนื่องจากปริมาณน้ำที่ให้และที่สูญเสียไปโดยการระเหยน้อยดังนั้นการสะสมของเกลือที่ ติดมากับน้ำในเขตรากพืชจึงไม่มาก
ข้อเสียของระบบการให้น้ำแบบเฉพาะจุด
๑. มีปัญหาเรื่องอุดตันที่หัวจ่ายน้ำมากเนื่องมาจากตะกอนทรายตะไคร่น้ำ หรือเนื่องมาจากการ สะสมตัวของสารเคมีในน้ำ
๒. เนื่องจากบริเวณที่เปียกชื้นไม่กว้างขวางนัก ความเข้มข้นของเกลือซึ่งมักจะเกิดขึ้นในบริเวณ รอบนอกของส่วนที่เปียกชื้นจึงมักจะสูงและอาจจะเป็นอันตรายต่อพืชได้
๓. สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีอื่นๆ แก่พืชพร้อมๆ กับการให้น้ำได้ด้วย โดยการผสมปุ๋ยหรือ เคมีเข้ากับน้ำทางท่อดูดของเครื่องสูบน้ำเข้าไปในระบบ
๔. ค่าลงทุนครั้งแรกค่อนข้างสูงเพราะจะต้องมีอุปกรณ์หลายอย่าง
การที่จะพิจารณาที่นำระบบการให้น้ำแบบประหยัดมาใช้ ควรจะมีการพิจารณาดังนี้
๑. เมื่อมีการให้น้ำแล้ว ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตจะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใดคุ้มค่า หรือไม่
๒. ราคาของผลผลิตนั้นคุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายที่เสียไปหรือไม่กับการที่จะลงทุนติดตั้งระบบการ ให้น้ำพืช
๓. จะต้องแน่ใจแล้วว่า แหล่งน้ำที่มีอยู่นั้นมีเพียงพอกับการให้น้ำตลอดฤดูกาลเพาะปลูก
 
 
 
 

อุปกรณ์ระบบน้ำหยด

การติดตั้งปั๊มหอยโข่งสำหรับระบบน้ำหยด

           การทำการเกษตรในปัจจุบันนี้เราจะรอเทวดาให้ประทานฝนมาให้เราหรือท่านจะแห่นางแมวไปขอฝนเทวดาท่านอาจประทานมาให้ท่านสักหยดหนึ่งในรอบ 1 เดือนจากนั้นท่านต้องไปขอจากใครอีกคงรอกันไม่ไหวแน่ซึ่งฤดูกาลผลิตเริ่มต้นมันไม่รอใครทั้งนั้นที่สำคัญนะครับ ดอกเบี้ยมันไม่ต้องการน้ำเดินทุกวันไม่มีวันหยุด จนกว่าท่านจะหยุดมันเอง ดังนั้นหัวใจสำคัญของการปลูกพืชก็คือ ระบบน้ำครับ ถ้าไปจ้างมืออาชีพก็จะไม่มีเงินต้นส่งธนาคาร ดังนั้นท่านต้องจัดการเอง.
ดังนั้นการใช้ปั๊มน้ำเป็นทางออกที่ดีทีสุดในการทำการเกษตรแผนใหม่ซี่งเราต้องจัดการเรื่องน้ำแหล่งน้ำให้สอดคล้องกับพืชและฤดูกาลผลิตด้วยวันนี้จะขอพูดเรื่องการให้น้ำในระบบน้ำหยดสำหรับไร่ อ้อยครับ ท่านไม่จำเป็นต้องซื้อปั๊มน้ำกับเราก็ได้อ่านและนำไปปฎิบัติไม่ว่ากัน.
            เมื่อพูดถึง ระบบน้ำหยด ยังถือว่าเป็นเรื่องใหม่สำหรับเกษตรกรไทย ซึ่งระบบนี้ได้รับความนิยมในต่างประเทศมานานแล้ว โดยเฉพาะในประเทศอิสราเอล ได้คิดค้นและเริ่มใช้มาตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1940 โดยวิศวกรชื่อ Symcha Blass และได้แพร่หลายออกไปทั่วโลก สำหรับประเทศไทยได้นำอุปกรณ์นำเข้า และเกษตรกรยังพึ่งน้ำฝนอยู่ สำหรับอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการชลประทานน้ำหยด ปัจจุบันนี้ไทยเรายังผลิตเองไม่ได้ทั้งหมด บางอย่างต้องนำเข้าจากต่างประเทศ เช่น อุปกรณ์จ่ายปุ๋ย วาล์วไฟฟ้า และระบบหม้อกรอง เป็นต้น
ระบบน้ำหยด เป็นเทคโนโลยีการชลประทานวิธีหนึ่งในหลายวิธี เป็นการให้น้ำแก่พืช โดยการส่งน้ำผ่านระบบท่อผ่านระบบปั๊มหอยโข่งแรงดันสูง หรือปั๊มแรงดันหลายใบพัด เพิ่มทำให้เกิดแรงดันในระดับ 5-25 PSI และปล่อยน้ำออกทางหัวน้ำหยด ซึ่งติดตั้งไว้บริเวณโคนต้นพืช น้ำจะหยดซึมลงมาบริเวณรากช้า ๆ สม่ำเสมอในอัตรา 4-20 ลิตร ต่อชั่วโมง ที่แรงดัน 5-25 PSI ขึ้นอยู่กับระบบ ชนิดพืช ขนาดพื้นที่ และชนิดของดิน ทำให้ดินมีความชื้นคงที่ในระดับที่พืชต้องการและเหมาะสมตลอดเวลา ส่งผลให้พืชเจริญเติบโตอย่างมีประสิทธิภาพ
ส่งที่ต้องเตรียมสำหรับโครงการนี้คือ
  1. ปั๊มแรงดัน 2 ใบพัด หรือ 3 ใบพัด (ขึ้นอยู่กับพื้นที่ในการปลูก)
  2. เทปน้ำหยด
  3. ท่อส่งน้ำ จะเป็น ท่อ พี อี (PE) หรือ ท่อ พี วี ซี (PVC) ก็ได้ นิยมใช้ PE ติดตั้งง่าย
  4. ข้อต่อและอุปกรณ์ หาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไป หรือ ที่ด่านช้าง ที่ร้าน อ.ทองไทย อุปกรณ์ครบ ไม่เป็นเฮียเขาจัดการให้
  5. หัวกระโหลก หรือ ฟุตววล์วไฟเบอร์ หรืด หัวดูดไพเบอร์ ตามขนาดของปั๊มน้ำ

4020 ปั๊มแรงดัน 2 ใบพัด หมุนซ้าย เทปน้ำหยด เทปน้ำพุ่ง

ข้อต่อ วาล์ว หัวดูดไฟเบอร์ (หัวกระโหลก)

การต่อเครื่องยนต์ พร้อมปั๊มแรงดันหมุนขวา 2 ใบพัด และปั๊มแรงดัน MU-250L หมุนซ้าย ที่ถูกต้อง (ต่อที่ เปี๊ยกการยนต์)
ปัญหาที่สำคัญของระบบนี้
  • น้ำต้องสะอาด
  • ต้องทำระบบกรองน้ำให้กับระบบ
  • ปั๊มที่ใช้ต้องเป็นปั๊มที่มีแรงดันสูงเช่น ปั๊มรุ่น 4020 แรงดันสูงสุด 7.2 บาร์ ไปดูบทความปั๊มแรงดัน (PRODUCT)
  • เมื่อท่านวางระบบเรียบร้อยระวังอยู่ 2 อย่างคือ หนูนา กับไฟป่าให้ตรวจเช็คทุก ๆ อาทิตย์ ถ้าฝังดิน หนูจะกัดขาด
ข้อเสนอแนะ
  • ท่านจะต้องเปิดน้ำทีละโชน
  • ทุก ๆ ท่อจ่ายน้ำท่านต้องติดตั้งวาล์วน้ำเพื่อลดหรือเพิ่มแรงดันน้ำให้กับท่อจ่ายน้ำแต่ละท่อ
  • ในกรณีที่ท่านติดตั้งระบบสปริงเกอร์แบบเหวียงควรใส่วาล์วหรี่ที่สปริงเกอร์ทุกตัวเพื่อปรับระดับแรงดันของน้ำให้เท่ากันทั้งระบบ
  • ฟุตวาล์วไม่ควรใช้ผ้าลี่ห่อฟุตวาล์วโดยตรง ควรหาตะแกรงหรือ วัสดุอืน ๆ กั้นเป็นคอกคอยกรอง
  • ถ้าตังเหลือ ควรเพิ่มถังแรงดันเข้าไปในระบบจะได้แรงดันเพิ่มขึ้นอีกอย่าลืมใส่เช็ควาล์วกันน้ำย้อนกลับด้วย
  • ควรใส่ strainer กรองทรายด้วย (ให้จำว่าทุก ๆ อุปกรณ์ที่เพิ่มเข้าไประบบจะทำให้แรงดันในระบบลดลง)

(เทปน้ำหยดท่านติดต่อที่นี่พักพวกกัน http://www.weloveshopping.com/template/w13/s_product.php?groupproduct=all&shopid=25339 หรือ http://www.sahatongthai.com น้องทำ Link หลายที่ )


การให้นำ้ระบบต่างๆ


1. การวางระบบท่อส่งน้ำเพื่อการเกษตรแบบฉีดฝอย (Sprinkler Irrigation) 
       การวางระบบท่อส่งน้ำเพื่อการเกษตรแบบฉีดฝอยนั้น ประกอบขึ้นด้วยอุปกรณ์ที่สำคัญ ดังนี้คือ
     1.
เครื่องสูบน้ำ (Pumping unit) หรือ Source of supply เป็นแหล่งกำเนิดน้ำอาจจะทำโดยการสูบน้ำจากแหล่งน้ำเพื่อเพิ่มความดันให้หัว Sprinkler เครื่องนี้อาจจะเคลื่อนด้ายเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้
     2.
ท่อประธาน (Main pipe unit) หรือ Sub mainline ทำหน้าที่ส่งน้ำจากเครื่องสูบน้าไปสู่ท่อแยก ท่อนี้อาจเป็นท่ออ่อน หรือท่อโลหะที่ถอดออกต่อที่เป็นท่อน หรือจะเป็นท่อที่ติดตั้งตายตัวก็ได้

     3.
ท่อแยกประธาน (Sub mainline) ทำหน้าที่รับน้ำจากท่อประธานส่งให้กับท่อแขนง ท่อแยกนี้มีลักษณะเช่นเดียวกันท่อประธาน แต่มีขนาดเล็กกว่า

     4. ท่อแขนง (
Lateral) ทำหน้าที่รับน้ำจากท่อแยกประธานส่งให้กับหัวสปริงเกอร์ ท่อแขนงนี้มีลักษณะเช่นเดียวกันท่อแยกประธาน แต่มีขนาดเล็กกว่า
    5.
หัวสปริงเกอร์ (Sprinkler units) ประกอบด้วย และ ทำหน้าที่จ่ายน้ำให้แก่พืช มีแบ่งเป็นพิเศษไว้สองแบบ คือจ่ายน้ำโดยหมุนหัวฉีดเป็นวงกลมในแนวราบ (Rotary Sprinkler) และเป็นท่อเจาะรูเล็ก โดยรอบ โดยให้น้ำฉีดไหลออกมาตามรูตลอดความยาวของท่อเรียกว่า Perforated pipe
ซึ่งไม่ใคร่จะนิยมกันมากนัก

2. ระบบการประทานแบบฉีดฝอยนั้นยังแบ่งออกได้เป็น 3 แบบด้วยกันคือ
    2.1 แบบติดอยู่กับที่
(Permanent Systems) เป็นแบบที่อุปกรณ์ทุกอย่างติดอยู่ที่เคลื่อนย้ายไม่ได้ โดยปกติแล้วท่อต่างๆ มักจะฝังอยู่ใต้ดิน หรือมิฉะนั้นก็ยกสูงเหนือผิวดินเลยค่าลงทุนจะสูงกว่าแบบอื่นๆ แต่ประหยัดค่าแรงในการได้น้ำได้มาก
    2.2 แบบเคลื่อนย้ายได้เพียงบางส่วน(Semi-portable Systems) แบบนี้อุปกรณ์บางอย่างจะติดอยู่กับที่ และบางอย่างสามารถเคลื่อนย้ายไปใช้ที่อื่น โดยมากท่อนประธาน และท่อแขนงจะติดอยู่กับที่ ส่วนที่ท่อแยก ซึ่งมีหัวสปริงเกอร์ ติดอยู่สามารถถอดออกเป็นท่อน และนำไปใช้ที่อื่นได้
    2.3 แบบเคลื่อนย้ายได้ทั้งหมด
(Portable System) แบบนี้อุปกรณ์ทุกอย่างตั้งแต่เครื่องสูบน้ำจนถึงท่อแยกซึ่งมีหัวสปริงเกอร์ ติดอยู่เคลื่อนย้ายได้ทั้งหมด


3. การวางระบบท่อส่งน้ำเพื่อการเกษตรแบบหยดน้ำ (Drip or Trickle Irrigation)
          การวางระบบท่อส่งน้ำแบบน้ำหยด เป็นระบบการให้น้ำแก่พืชที่จำเป็นต้องมีอุปกรณ์พิเศษหลายอย่าง เพื่อควบคุมการให้น้ำแก่พืช ให้มีประสิทธิภาพสูง เมื่อเทียบกับวิธีการให้น้ำแก่พืชแบบอื่น ๆ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นในเบื้องต้น ที่จะต้องทำความเข้าใจถึงหน้าที่และความสำคัญของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จำเป็นใช้ในระบบ เพื่อจะได้นำไปใช้งานให้สอดคล้องกับสภาพทางภูมิประเทศ และพืชที่ปลูก ตลอดจนการลงทุ่นและผลผลิตที่จะได้รับ ถ้าหากมีการวางระบบไม่ถูกต้องนอกจากจะเสียเงินเพิ่มแล้วยังใช้ไม่ได้ผลอีก ด้วย
องค์ประกอบของระบบการชลประทานแบบน้ำหยด (
Drip System Components)
ระบบชลประทานแบบน้ำหยด ส่วนใหญ่จะต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ที่สำคัญ อย่างน้อยดังต่อไปนี้
1. เครื่องสูบน้ำ (Pump)
2. ท่อประธาน (Main line)
3. ท่อประธานย่อย (Sub Main)
4. ท่อแขนง (Lateral line)

5. หัวปล่อยน้ำ (
Emitters)
6. ประตูน้ำ (Valve)
7. เครื่องวัดความดัน (Pressure Gauge)

บางครั้งไม่จำเป็นต้องใช้ ถ้าน้ำมีแรงดันพอเพียง เช่น ระบบที่ใช้น้ำประปา ที่มีความดันมากกว่า 10 ปอนด์/ตร.นิ้ว หรือแหล่งน้ำที่อยู่ที่สูงกว่า 6 เมตรจากพื้นดินเป็นต้น และอุปกรณ์ที่นับว่าสำคัญมากของระบบนี้ซึ่งจะขาดไม่ได้ คือ เครื่องกรองน้ำ (Filter)
องค์ประกอบของระบบชลประทานแบบน้ำหยดอย่างง่าย ที่ใช้กันในบริเวณบ้าน ซึ่งต่อจากแหล่งน้ำระบบประปา โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องสูบน้ำ ระบบนี้ใช้ได้กับพืชเกือบทุกชนิด ตั้งแต่พืชผักสวนครัว ต้นไม้ประดับไม้ยืนต้น ตลอดจนสนามหญ้า และสำหรับในพื้นที่เพาะปลูกขนาดใหญ่ นอกจากจะมีอุปกณ์ดังกล่าวแล้ว บางครั้งจำเป็นต้องมีอุปกรณ์พิเศษเพิ่มขึ้นอีกตามความเหมาะสม โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่ถือว่าเป็นเครื่องควบคุมการจ่ายน้ำต้นทาง (Control head) ได้แก่ เครื่องวัดปริมาณการไหลของน้ำ (Water miter) เครื่องฉีดผสมปุ๋ยหรือสารเคมี (Fertilizer tank or Chemical injector) เครื่องควบคุมความดัน (Pressure regulator) ตัวป้องกันน้ำไหลกลับ (Non-return valve) ประตูระบายอากาศ (Air release valve) ทางระบายน้ำออก ( Outlet for flushing) และนอกจากนี้ ยังสมารถติดตั้งเป็นระบบควบคุมการจ่ายน้ำเป็นระบบอัตโนมัติได้อีกด้วย โดยติดตั้งประตูน้ำไฟฟ้า (Solenoids valves) และระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer control unit) เป็นต้น


 





การเจริญเติบโตของรากอ้อย แลการใส่ปุ๋ย

ปุ๋ย N-P-K และหน้าที่

ทำความเข้าใจเบื้องต้น - สูตรปุ๋ยที่ขายทั่วไปตามท้องตลาด เช่น 15-15-15/ 46-0-0 / 25-7-7/ 16-20-0/ 13-13-21/ เป็นต้น

ทำไมต้องมีตัวเลข 3 กลุ่ม หรือ 3 ชุด : เป็นตัวเลขที่แสดงค่าธาตุอาหารหลักที่อ้อยต้องการ 3 ชนิด คือ

ตัวเลขกลุ่มหน้า หมายถึง ค่าธาตุไนโตรเจน (N) : มีหน้าที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของลำต้นและใบ
ตัวเลขกลุ่มกลาง หมายถึง ค่าธาตุฟอสฟอรัส (P) : มีหน้าที่ช่วยในการสร้างระบบรากให้แข็งแรง
ตัวเลขกลุ่มหลัง หมายถึง ค่าธาตุโพแทสเซียม (k) : มีหน้าที่ช่วยทำให้ส่วนปลายราก (หมวกราก) - แข็งแรง + ช่วยทำให้ใบอ้อย
สร้างสีเขียวได้ดี + ช่วยให้อ้อยสร้างน้ำหนัก และสะสมน้ำตาลในลำ
(สูญเสียน้ำหนักหลังตัดช้า และน้อยกว่า /css. ดี)

การสร้างรากอ้อย

  • ระบบรากอ้อยที่สมบรูณ์ จะต้องประกอบด้วยรากจำนวน 4 ชุด
          • รากแท้ เกิดจากหน่อและลำต้นจริงของอ้อย : เป็นท่อส่งน้ำและอาหารสู่ลำต้น และใบ
          • รากแขนงชุดที่ 1 แตกจากรากแท้ : เป็นท่อส่งน้ำ และอาหาร สู่รากแท้
          • รากแขนงชุดที่ 2 แตกจากรากแขนงชุดที่ 1 : เป็นรากที่ดูดความชื้น และธาตุอาหารสู่รากแขนงชุดที่ 1
          • รากขนอ่อน ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า : เป็นรากที่ดูดความชื้น และธาตุอาหารจากในดิน
  • ปัจจัยที่รากอ้อยชอบ สำหรับการเจริญเติบโต
    • ดินร่วยซุย ไม่อัดแน่น ทำให้รากอ้อยแตกแขนง และหยั่งลึกได้ดี ทนแล้ง
    • ธาตุฟอสฟอรัส (P) ทำให้รากอ้อยแข็งแรง สมบูรณ์
  • ระดับความลึกของการปลูกอ้อยใหม่ ที่เหมาะสำหรับการสร้างรากอ้อยที่แข็งแรง
    • ปลูกลึกจากระดับผิวดินปกติ 15 เซนติเมตร (ไม่นับความสูงของสันร่องอ้อย) คือความลึกที่สร้างรากแข็งแรง หน่ออ้อยสมบรูณ์
    • การพูนโคนอ้อย จะช่วยสร้างรากอ้อยชุดที่ 2 จากข้ออ้อยบริเวณกกของลำอ้อย ทำให้อ้อยไม่ล้มง่าย หน่ออ้อยตอแข็งแรง

ตำแหน่งการใส่ปุ๋ยที่ถูกต้อง

อ้อยปลูกใหม่
  • ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยรองพื้นปลูก สูตร 16 - 20 - 0 อัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่ ต้องใส่ทุกครั้งที่ปลูกอ้อย (ทั้งแบบแรงงานคน และ เครื่องปลูก)
  • ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยด้วย M.P.I. ใส่ปุ๋ยสูตร ครบทั้ง N - P - K
      • ระยะเวลาที่เหมาะสม อ้อยข้ามแล้ง, อ้อยข้ามแล้งน้ำราด : ใส่เมื่ออายุ 1 - 1.5 เดือน ก่อนรากอ้อยเจริญเติบโตมาถึงกัน
        ทำให้รากอ้อยขาด อ้อยชะงักการเจริญเติบโต
        อ้อยฝน : ก. ใส่หลังอ้อยงอกเต็มแถวแล้ว ป้องกันอ้อยเสียหาย
        ข. ใส่หลังฉีดยาคุม หากมีวัชพืชขึ้นก็จะขึ้นเฉพาะบริเวณรอยล้อรถไถ
        สามารถพรวน หรือใช้แรงงานคนเก็บได้
        ค. ใส่หลังปลูกเสร็จทันที (ต้องมั่นใจว่าปลูกแล้วไม่เสียหาย) แล้วฉีดยาคุมตามอีกที
    การใส่ปุ๋ยในอ้อยตอ
  • ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยด้วย M.P.I. ใส่ปุ๋ยสูตร ครบทั้ง N - P - K
    • ระยะเวลาที่เหมาะสม : ใส่ปุ๋ยด้วย M.P.I. เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ ไม่ว่าจะเป็นการตัดอ้อยเข้าหีบ ต้นหีบ กลางหีบ และปลายหีบ รวมถึงอ้อยตอที่ตัดพันธุ์

  • ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยด้วยคราดสปริติดถังปุ๋ย, คราดขาแข็ง หรือซับซอยเลอร์ติดถังปุ๋ย โดยใส่ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) ข้างแถวอ้อยห่างประมาณ 1 คืบ ลึก 15 เซนติเมตร
    • ระยะเวลาที่เหมาะสม : เมื่อฝนแรกของฤดูกาลตกลงมา เพียงพอที่จะทำให้หน้าดินนุ่ม พรวนฝังปุ๋ยลึก 15 เซนติเมตรได้ พรวนแล้วมีดินกลบปุ๋ยได้ดี
    เหตุผลการใส่ปุ๋ยแบบโครงการ F.D.P.
    • เป็นวิธีการสร้างรากอ้อยที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของอ้อยทั้ง 3 ฤดูกาล
    • เป็นวิธีที่ใส่ปุ๋ยฝังลงไปในดินทุกครั้ง อ้อยจะได้รับประโยชน์โดยตรง
    • เป็นวิธีที่ช่วยลดต้นทุนจากการสูยเสียปุ๋ย ถ้าเทียบกับการใส่ปุ๋ยตื้น หรือใส่ปุ๋ยบนดิน เพราะใส่ได้ดินมีดินกลบ
    • เป็นวิธีที่ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายจากการกำจัดวัชพืช เนื่องจาการใส่ปุ๋ยที่ลึกกว่าระดับของรากหญ้าปกติ ที่ลึกประมาณ 5 - 7 เซนติเมตร
      และสามารถพรวนกำจัดได้ ไม่กระทบกับรากลึก และปุ๋ยที่ใส่ไว้
ปัจจัยพื้นฐานที่อ้อยต้องการ
  • ดิน : พื้นที่สำหรับปลูกอ้อย, เป็นที่ยึดเกาะของรากอ้อย, ที่อยู่ของความชื้นและธาตุอาหาร
  • น้ำ : ความชื้นที่ได้รับจากน้ำฝนแต่ละปี
  • ธาตุอาหาร(ปุ๋ย) : ธาตุอาหารที่ใส่ให้กับอ้อยจากสูตรปุ๋ยที่เลือกใช้
  • อุณหภูมิ : อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของอ้อย
  • แสงแดด : ใช้สำหรับสังเคราะห์แสงสร้างการเจริญเติบโต และสร้างน้ำตาลในลำอ้อย
ก. หลักการใส่ปุ๋ยโดยการใช้ M.P.I
ประโยชน์ เพื่อนทำลายชั้นอัดแน่นของดิน หรือที่เรียกว่า ดินดาน อาจเกิดมาจากการที่รถบรรทุกอ้อยออกจากแปลงหลังตัดอ้อย, จากการใช้ รถไถในไร่อ้อยหลายๆคร้ั้ง หรือจากธรรมชาติของดิน เพราะเมื่อทำลายชั้นอัดแน่นของดินแล้ว เราจะสร้างปัจจัยอย่างหนึ่งที่รากอ้อยชอบ คือ ดินร่วยซุย รากสามารถชอนไช หยั่งลึกได้ และวิธีนี้ยังสร้างปัจจัยที่รากอ้อยชอบอีกอย่างหนึ่ง คือ ใส่ปุ๋ยที่มีธาตุ ฟอสฟอรัส (P) ด้วย
เปรียบเทียบการใส่ปุ๋ยในการบำรุงรักษาอ้อย กับระยะเวลาเจริญเติบโต
จากภาพแสดงการเจรญเติบโตของอ้อยระยะเวลา 52 สัปดาห์ จะเห็นว่าอ้อยช้เวลาเติบโตประมาณ 42 สัปดาห์ และอีกประมาณ 10 สัปดาห์ เป็นช่วงที่อ้อยเริ่มสะสมน้ำตาลในลำอ้อย นี่คือการเจริญเติบโตของอ้อยที่เป็นปกติ สมบูรณ์
แต่ถ้าอ้อยไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยตั้งแต่ช่วงแรกๆ หลังปลูกหรือหลังตัดอ้อย ก็เหมือนกับปล่อยให้อ้อยเจริญเติบโต ตามธรรมชาติ โดยจะอาศัย ความชื้น ธาตุอาหารที่มีอยู่ในดินซึ่งเมื่อ 12 เดือนที่ผ่านมาก็ใช้ไประดับหนึ่งแล้ว แล้วอ้อยเจริญเติบโตดีเท่ากับอ้อยที่ได้รับปุ๋ยอย่างรวดเร็วได้อย่างไร ?
การใส่ปุ๋ยอ้อยตอหลังตัดที่เร็วกว่า นอกจากจะเป็นการให้ธาตุอาหารต่ออ้อย และสร้างระบบรากแล้ว ยังถือเป็นการลดงานที่จะทำในฤดูฝนลง
เพราะว่าส่วนใหญ่แล้ว พี่น้องชาวไร่อ้อย เมื่อฤดูฝนมาถึง งานที่จะทำก็คือ
  • ปลูกอ้อย ถ้ามีแปลงที่จะปลูกอ้อยฝน ชาวไร่ก็จะเลือกปลูกก่อนสมอ
  • ฉีดยากำจัดวัชพืช ถ้ามีฝนตกลงมาปัญหาวัชพืชในแปลงอ้อยก็จะเริ่มมีปัญหา ชาวไร่ก็จะฉีดยาก่อน
  • ใส่ปุ๋ยอ้อย ก็จะเป็นตัวเลือกอันดับ 3 เสมอ ดังนั้นจึงกระทบต่อช่วงการเจริญเติบโตของอ้อย

การใช้สารเคมีในไร่อ้อย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้สารเคมีในไร่อ้อย จะแนะนำให้ทราบถึงชนิดของสารเคมีที่คยนิยมใช้ในไร่อ้อย จำนวน 5 ชนิด คือ
  • อามีทรีน ยาคุม และฆ่า หน้าที่ - ควบคุมกำจัดหญ้า และวัชพืชใบกว้าง
    - กำจัดวัชพืชขนาด 3-4 ใบ โดยไม่ต้องใช้พาราควอท
    - ควรฉีดให้สัมผัสดินมากที่สุด , เป็นสารเคมีคุมวัชพืช
  • อาทราซีน ยาคุม และฆ่า หน้าที่ - ควบคุมกำจัดหญ้า และวัชพืชใบกว้าง
    - กำจัดวัชพืชขนาด 3-4 ใบ โดยไม่ต้องใช้ 2,4 ดี และพาราควอท
    - ควรฉีดให้สัมผัสดินมากที่สุด , เป็นสารเคมีคุมวัชพืช
  • 2,4 ดี หน้าที่ - กำจัดวัชพืชใบกว้าง และหญ้าแห้วหมู
    - เป็นสารดูดซึม (ออกฤทธิ์ 6-8 ชั่วโมง ใบดูดซึมสู่ลำต้น สู่ราก) และคุมวัชพืช
    - ดูดซึมทั้งรากและใบ
  • ทอร์ดอน หน้าที่ - กำจัดวัชพืชใบกว้าง (ที่มีขนาดโต และเนื้อเยื่อคล้ายไม้) และเชือกเถา
    - เป็นสารดูดซึม (ออกฤทธิ์ 6-8 ชั่วโมงหลังฉีด ใบดูดซึมสู่ลำต้น สู่ราก) และคุมวัชพืช
    - ดูดซึมเข้าทางใบ ต้องฉีดพ่นให้สารเคมีสัมผัสใบอย่างทั่วถึง (ชุ่มใบ)
  • พาราควอท(กรัมมอกโซน) หน้าที่ - เป็นสารเคมีชนิดสัมผัสสีเขียวตาย (ไหม้) ภายใน 1 ชั่วโมงเท่านั้น
    - ใช้กำจัดวชพืช และหญ้าได้ทุกชนิด แต่ต้องฉีดให้ทั่วถึง
    - สามารถฉีดคุมอ้อยระยะงอกได้ 3 - 4 ใบได้ / หลังฉีด 7 วันอ้อยจะแตกใบใหม่แทน
    - ไม่มีผลตกค้างอยู่ในดิน เมื่อตัวยาสัมผัสดินก็จะเสื่อมสลาย
การลดการใช้สารเคมีในไร่อ้อย
  • อามีทรีน เมื่อหญ้ามีขนาดสูงประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ก็ไม่สมควรที่จะใช้อามีทรีน เพราะว่าสารที่จะออกฤทธิ์คุม จะไม่โดนฉีดสัมผัสผิวดิน ควรใช้พาราควอทแทนดีกว่า เพราะเราต้องการจะฆ่าหญ้าอย่างเดียว จะช่วยพี่น้องประหยัดค่าใช้จ่ายลงมาก
  • อาทราซีน กรณีมีวัชพืชใบกว้างเกิน 3 - 4 ใบ ก็สามารถผสมยา 2,4 ดี ได้โดยไม่ต้องเพิ่มอัตรายาอาทราซีน
  • การผสมอาทราซีนกับอามีทรีน สามารถที่จะผสมกันได้ ในกรณีที่แปลงอ้อยมีทั้งหญ้า และวัชพืชใบกว้าง แต่ควรที่จะผสมในอัตราอย่างละครึ่ง ไม่ต้อง ผสมเต็มอัตรา เพราะว่าตัวยาแต่ละชนิดจะทำงานสนับสนุนกันอยู่
  • การผสมยาหลายชนิด ขอให้หลีกเลี่ยงการผสมสารเคมีหลายชนิดเข้าด้วยกัน โดยไม่จำเป็น เป็นสิ่งที่ไม่เป็นผลดีต่อชาวไร่อ้อย เป็นการสิ้นเปลือง และอาจจะทำให้ฤทธิ์ของสารเคมีนั้นรุนแรงข้นกว่าเดิมหลายเท่า ส่งผลกระทบต่ออ้อย
การลดความเสียหายต่ออ้อยจากการใช้สารเคมี
สิ่งที่มีต่อความเสียหายจากการพ่นสารเคมี มี 2 อย่าง คือ
  • การฉีดพ่นด้วยแรงงานคน ที่ถือก้านฉีดพ่นสารเคมีสูงเกิน ถ้าฉีดพ่น ก็จะทำให้ละอองสารเคมีโดนอ้อยมากกว่าวัชพืช และทำให้วัชพืชที่อยู่ใต้ใบอ้อย ไม่ตาย ชาวไร่มักคิดว่าใช้สารเคมีน้อยเกินไป ครั้งต่อไปก็จะเพิ่มอีก ยิ่งกระทบต่อ้อยมากขึ้น // ควรฉีดให้ต่ำ เหมาะกับสภาพความสูงของหญ้า ต้องกำจัด ขณะเป็น ลูกหญ้า
  • หัวฉีดพ่นสารเคมี ควรมีการคัดเลือกหัวฉีดให้ดี ให้มีการฉีดพ่นละอองที่สม่ำเสมอ จะทำให้ใช้ปริมาณยาน้อย และกระทบต่ออ้อยน้อยลงด้วย
การปกป้องดิน สำหรับอนาคต (ที่ยั่งยืน)
1. การปลูกอ้อยฝน
ก. การไถเตรียมดินไม่ดี ไม่ลึกเกินชั้นดินดาน ใช้ผานยกร่องไม่ผ่านชั้นอ้ดแน่น ทำให้เมื่อปลูกแล้ว ฉีดพ่นสารเคมี คุม ฆ่าวัชพืช เมื่อมีฝนตกลงมา ก็จะนำสารเคมีไปขังบริเวณรากอ้อย ตาอ้อย หน่ออ้อย ใหม่ จะส่งลกระทบต่ออ้อย สังเกตุหลังจากฉีดพ่น เมื่ออ้อยงอกขึ้นมาแล้ว อ้อยจะชะงักการเจริญ เติบโต สีใบซีด

ข. แต่ถ้าไถเตรียมดินดี ไถลึกผ่านชั้นดินดาน เมื่อฝนตก สารเคมีก็จะซึมผ่านบริเวณราก ตาอ้อย หน่อ อ้อยใหม่ไปได้ ก็จะลดปริมาณยาตกค้าง ในดินได้ระดับหนึ่ง
2. การปลูกอ้อยข้ามแล้ง ถือเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด พราะหลังปลูกอ้อยแล้ว ไม่ต้องใช้ยาคุม ฆ่า อะไร จะทำให้ไม่มีสารเคมีตกค้าง ในแต่ละปี ที่ปลูกอ้อย
3. การใช้ยาอามีทรีน ควรระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง เพราะว่าในออสเตรเลีย ผลการทดลองพบว่า ถ้าใช้อามีทรีน ในอัตราที่ไม่ถูกต้อง
(มากเกินที่ผู้ผลิตบอกไว้) จะมีสารตกค้างอยู่ในดิน และตกค้างอยู่ในลำอ้อย นาน 9 เดือน ดังนั้นจึงได้ห้าม
การปลูกอ้อยในแปลงนั้นในระยะเวลา 9 เดือน และห้ามตัดพันธุ์ไปปลูก เพราะฤทธิ์ของอามีทรีน
จะส่งผลต่อ อัตราการงอกของอ้อย เพราะอ้อยเป็นพืชที่อยู่ในตระกูลใกล้กับหญ้า
การลงทุนในการกำจัดวัชพืช ในไร่อ้อย ระยะสั้น และระยะยาว
  • ระยะสั้น หมายถึง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสารเคมีที่นำมาใช้ในไร่อ้อยทุกๆ ปี เป็นการแก้ไขปัญหาในระยะสั้น เป็นผลเสียต่อทั้งอ้อยและต่อดิน
    (ผลตกค้างนาน) เสียค่าใช้จ่ายมากเกินความจำเป็น ได้ผลผลิตน้อย
  • ระยะยาว หมายถึง การกำจัด และ ควบคุมวัชพืช ในไร่อ้อยด้วยเครื่องมือเกษตร ถือเป็นการลงทุนสำหรับระยะยาว สามารถใช้ได้หลายครั้ง
    ใช้ได้ทั้งใน แปลงอ้อยใหม่ และอ้อยตอ ซื้อแล้วใช้ได้ 10 - 15 ปี

วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2554

การผลิตปุ๋ยหมัก โดยใช้สารเร่ง พด.-1 และวิธีการต่อเชื้อ


โครงการปรับปรุงดินด้วยอินทรียววัตถุ ได้ดำเนินการผลิตสารเร่งสำหรับทำปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ย่อยเศษพืชให้เป็นปุ๋ยหมักได้รวดเร็ว ยิ่งขึ้น และให้ใด้ปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพดีและ ปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สารเร่งที่ทางกรมพัฒนา ที่ดินผลิตนี้ คือ พด.-1 สารเร่งชนิดนี้ประกอบ ด้วย เชื้อจุลินทรีย์รวมกันหลายสายพันธุ์ อยู่ในสภาพแห้งซึ่งสะดวกแก่การนำไปใช้และ การเก็บรักษา มีคุณสมบัติ โดยสังเขปดัง ต่อไปนี้

สารเร่งพด.-1 ประกอบด้วยเชื้อจุลินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ เป็น เชื้อจุลินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่มีประโยชน์เป็นเชื้อจุลินทรีย์ ประเภทรา บักเตรี และ แอคติโมมัยซีส ซึ่งสามารถย่อยสลายเศษพืชให้เป็นปุ๋ยหมัก ใช้ได้อย่าง รวดเร็ว เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ช่วยประหยัดเวลาในการทำ ปุ๋ยหมัก และสามารถนำปุ๋ยหมักไปให้ทันกับความต้องการ และได้ปุ๋ยหมัก ที่มีคุณภาพดี ทั้งนี้เพราะเชื้อจุลินทรีย์บางชนิดที่ผสมอยู่ในผลิตภัณฑ์เป็นพวก ที่ทำการย่อยเศษพืชได้ดีในสภาพที่กองปุ๋ยมีความร้อนสูง สภาพดังกล่าว จะช่วยทำลายเมล็ดวัชพืชหรือเชื้อโรคที่ปะปนอยู่ได้ กรมพัฒนาที่ดินได้นำสาร เร่งนี้มาทดลองเพื่อย่อยเศษพืช ปรากฏว่าสามารถย่อยฟางข้าวใหม่ให้เป็น ปุ๋ยหมักใช้ได้ภายในเวลาไม่เกิน 30-45 วัน และกากอ้อยซึ่งสลายตัวยาก เป็นปุ๋ยหมักใช้ได้ไม่เกิน 60 วัน และได้ปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์และมีคุณภาพดี

ส่วนผสมในการกองปุ๋ยหมัก
เศษพืชแห้งหรือวัสดุอื่น ๆ
1,000
กก.หรือ 1 ตัน
(ประมาณ 8-10 ลบ.ม.)
มูลสัตว์
200
กก.
ยูเรีย
2
กก.
สารเร่ง พด.-1
150
กรัม (1 ถุง)

วิธีการกองปุ๋ยหมัก
นำวัสดุที่จะใช้กองปุ๋ยหมักแบ่งเป็น 4 ส่วน (ในกรณีที่กอง 4 ชั้น) โดยเมื่อกองปุ๋ยหมักเสร็จ ควรมีขนาดของกองกว้าง 2-3 เมตร สูงประมาณ 1.0-1.5 เมตร โดยมีขั้นตอน ดังนี้

1. นำวัสดุที่จะใช้ทำปุ๋ยหมัก ส่วนแรกมากองเป็นชั้น ให้มีความกว้าง 2-3 เมตร สูงประมาณ 30-40 ซม. โดยย่ำให้แน่น และรดน้ำให้ชุ่ม 2. นำมูลสัตว์โรยบนชั้นของวัสดุให้ทั่ว สำหรับการกองปุ๋ยหมัก 4 ชั้นนี้ จะใช้มูลสัตว์ชั้นละประมาณ 50 กก. รดน้ำให้ชุ่ม 3. นำปุ๋ยยูเรียโรยลงบนชั้นของมูลสัตว์ สำหรับการกองปุ๋ยหมัก 4 ชั้นจะ.โรยยูเรียชั้นละประมาณ 0.5 กก. รดน้ำอีกเล็กน้อย 4. นำสารเร่ง พด.-1 จำนวน 150 กรัม (1 ถุง) มาละลายน้ำ 20 สิตร แล้วคนให้สารเร่งละลายให้ทั่วกัน ประมาณ 15 นาที แล้วแบ่งไว้ 5 ลิตร นำไปรดให้ทั่วชั้นที่ 2, 3 และ 4 ต่อไป 5. นำวัสดุกองทับลงบนชั้นแรกของกองปุ๋ยหมัก แล้วปฏิบัติแบบเดียว กับการกองปุ๋ยหมักชั้นแรก ดำเนินการจนกระทั่งครบ 4 ชั้น โดยชั้นบนสุด ควรโรยทับด้วยมูลสัตว์ หรือดินที่อุดมสมบูรณ์ให้ทั่วผิวหน้าของกองปุ๋ยหมัก สำหรับการใช้ฟางข้าวทำปุ๋ยหมัก จะใช้เวลาประมาณ 30-45 วัน และสามารถนำปุ๋ยที่ได้ไปต่อเชื้อสำหรับกองปุ๋ยหมักกองใหม่ได้เป็นอย่างดี หรือนำไปใช้เป็นวัสดุปรับปรุงบำรุงดินตามความต้องการต่อไป

"การทำปุ๋ยหมัก-โดยวิธีการต่อเชื้อ"
การทำปุ๋ยหมัก-โดยวิธีการต่อเชื้อ หมายถึง การทำปุ๋ยหมักโดยใช้ ปุ๋ยหมักที่เป็นแล้วมาเป็นต้นตอของเชื้อจุลินทรีย์ หรือสารตัวเร่งสำหรับการ กองปุ๋ยหมักครั้งใหม่ โดยไม่จำเป็นต้องใช้สารเร่งประเภทจุลินทรีย์ทุกครั้ง ที่ทำปุ๋ยหมัก การนำเอาปุ๋ยหมักจากกองเดิมมาเป็นต้นตอของเชื้อจุลินทรีย์ เพื่อใช้ทำปุ๋ยหมักครั้งใหม่นี้ นับว่าเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรอย่างแท้จริง กล่าวคือ เกษตรกรลงทุนเพียงครั้งเดียวก็สามารถนำปุ๋ยหมักที่ทำใด้มาใช้เป็น ต้นเชื้อจุลินทรีย์ เพื่อทำปุ๋ยหมักครั้งต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพราะจุลินทรีย์ ซึ่งมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายในกองปุ๋ยหมักกองเดิม ยังคงมีชีวิตอยู่ แลยังมีความสามารถที่จะย่อยสลายเศษวัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในการทำปุ๋ยหมักใน คราวถัดไปได้อีก การทำปุ๋ยหมักโดยวิธีการต่อเชื้อ นับได้ว่าเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย และลดต้นทุนในการผลิตปุ๋ยหมักได้เป็น อย่างดี แต่เกษตรกรจะต้องมีการดูแลและเก็บรักษาปุ๋ยหมักที่จะนำไปต่อเชื้อนี้ ให้อยู่ในสภาพที่ดี คือ จะต้องไม่ทิ้งตากแดดตากลม และควรให้มีความชื้น อยู่ในระดับที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ในกองปุ๋ยหมักด้วย

วิธีการกองปุ๋ยหมักโดยการต่อเชื้อ
นำวัสดุที่จะใช้กองปุ๋ยหมักตามที่กล่าว ข้างต้นมาแบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน (ในกรณีที่กองปุ๋ยหมัก 4 ชั้น) และเมื่อกอง ปุ๋ยหมักเสร็จแล้ว ควรมีขนาดกว้าง 2-3 เมตร สูงประมาณ 1.0-1.5 เมตร โดยมีขั้นตอน ดังนี้ คือ

1. นำเศษวัสดุที่จะใช้ทำปุ๋ยหมักมากองเป็นชั้น ให้มีความกว้าง ประมาณ 2-3 เมตร สูงประมาร 30-40 ซม. โดยย่ำให้แน่น และรดน้ำให้ชุ่ม 2. นำปุ๋ยหมักที่หมักได้ 15 วัน หรือปุ๋ยหมักทีเป็นแล้วส่วนแรกโรย ที่ผิวบน ของเศษวัสดุที่กองไว้ชั้นละ 50 กิโลกรัม แล้วรดน้ำให้ชุ่ม แต่อย่าให้ถึงกับแฉะมากเกินไป 3. นำปุ๋ยเคมีโรยให้ทั่วผิวบนของเศษวัสดุ 4. สำหรับการกองปุ๋ยหมักในชั้นต่อไป ก็ปฏิบัติเช่นเดียวกับที่กอง ในชั้นแรก และทำการกองจนครบ 4 ชั้น ชั้นบนใช้ดินทับ หนา 1 นิ้ว และทำการกลับกองปุ๋ยทุก 7-10 วัน การทำปุ๋ยหมักโดยวิธีการต่อเชื้อนี้ ถ้าใช้ฟางข้าวเป็นวัสดุ ในการทำปุ๋ยหมัก สามารถทำได้ตามวิธีการที่กล่าว รวมถึงมีการปฏิบัติ และดูแลรักษาอย่าถูกขั้นตอนจะใช้เวลา ประมาณ 30-45 วัน ก็สามารถ นำปุ๋ยหมักไปใช้ได้แล้ว ปุ๋ยหมักที่ได้จากการต่อเชื้อนี้ ถ้าจะนำไปใช้ต่อเชื้ออีก ในเมื่อต้องการจะทำ ปุ๋ยหมักในครั้งต่อไป ก็กระทำต่อไปได้แต่ไม่ ควรทำเกิน 3 ครั้ง ดังภาพ
แผนภาพแสดงส่วนประกอบของการทำปุ๋ยหมักแบบต่อเชื้อ แผนภาพแสดงการผลิตปุ๋ยหมักแบบต่อเชื้อ

การปฏิบัติและการดูแลรักษากองปุ๋ยหมัก

การรดน้ำกองป๋ยหมัก ควรกระทำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ความชื้นภายในกองปุ๋ยหมักอยู่ใน ระดับที่เหมาะสม คือ ประมาณ 50-60% (โดยน้ำหนัก) ในทางปฏิบัติ อาจสังเกตเห็นได้โดยไม่แห้งหรือแฉะจนเกินไป เพราะถ้าความชื้นในกอง ปุ๋ยหมักน้อยเกินไป จะทำให้ขบวนการย่อยสลายเกิดขึ้นได้ช้า และถ้าความชื้น ในกองปุ๋ยหมักมากเกินไป จะมีผลต่อการระบายอากาศในกองปุ๋ยหมัก จะทำให้เกิดสภาพการขาดออกซิเจน ขบวนการย่อยสลายก็จะเกิดขึ้นได้ช้า เช่นกัน การกลับกองปุ๋ยหมัก ควรปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเป็นการระบายอากาศภายในกองปุ๋ยหมัก ช่วยลดความร้อนภายในกองปุ๋ยหมักและยังเป็นสิ่งจำเป็น สำหรับเชื้อจุลินทรีย์ ที่เกี่ยวข้องกับขบวนการย่อยสลายเศษพืชเหล่านี้ เพราะเชื้อจุลินทรีย์ส่วนใหญ่ เป็นพวกที่ต้องการอากาศ โดยเชื้อจุลินทรีย์จะใช้ออกซิเจนในระบบการสร้าง พลังงาน ระยะเวลาในการกลับกองปุ๋ยหมักนั้น ยิ่งบ่อยครั้งยิ่งดี แต่ปฏิบัติ ประมาณ 7-10 วันต่อครั้ง การรัษาความชื้นภายในกองปุ๋ยหมัก ในกรณีที่กองปุ๋ยหมักอยู่กลางแจ้ง กองปุ๋ยจะได้รับความร้อนโดยตรง จากแสดงแดด ทำให้น้ำระเหยออกจากกองปุ๋ยหมักได้เร็วกว่าในโรงเรือน อากจะต้องมีการรดน้ำ เพื่อรักษาความชื้นภายในกองปุ๋ยหมัก ให้เหมาะสม หรืออาจจะใช้วัสดุบางประเภทปิดคลุมบนกองปุ๋ยหมัก เพื่อลดการระเหยของน้ำ ได้บางส่วน เช่นแผ่นพลาสติก ใบทางมะพร้าวแห้ง เป็นต้น

หลักในการพิจารณาปุ๋ยหมักที่เสร็จสมบูรณ์ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แล้ว คือ
- สีของวัสดุ สีของวัสดุเศษพืชหลังจาก เป็นปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์ จะมีสีน้ำตาลเข้ม จนถึงสีดำ - ลักษณะของวัสดุ เศษพืชที่เป็นปุ๋ยหมัก ที่สมบูรณ์จะมีลักษณะอ่อนนุ่ม และเปื่อยยุ่ย - กลิ่นของวัสดุ ปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์ จะไม่มีกลิ่นเหม็น หรือกลิ่นฉุน - ความร้อนภายในกองปุ๋ยหมัก จะมีลักษณะใกล้เคียงกับอุณหภูมิภายนอก

การปลูกพืชบำรุงดิน แบบที่ 1


การดำเนินงานปุ๋ยพืชสด และพืชคลุม
เพื่อการปรับปรุงบำรุงดิน มีเป้าหมาย 3 ประการ คือ 1. ส่งเสริมเกษตรกรให้รู้จักปรับปรุง บำรุงดิน ด้วยปุ๋ยพืชสดและพืชคลุมให้ได้ ปีละ 25,000 ไร่ โดยเจ้าหน้าที่จะพิจารณา ดำเนินการคามความเหมาะสมของแต่ละท้องที่ เช่น แจกจ่ายเมล็ดพันธุ์พืชคลุมดินให้เกษตรกร นำไปปลูกในสวนผลไม้ พืชคลุมดินจะช่วยเพิ่ม ธาตุไนโตรเจนในดิน และป้องกันวัชพืช เศษใบ และต้นของพืชที่ที่ปลูกพืชไร่หรือเป็นนาข้าว หลังเก็บเกี่ยว ดินมีความชื้นพอเหมาะที่จะปลูก พืชปุ๋ยสดเพื่อไถกลบ บำรุงดิน 2. สาธิตการปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยพืชสด และพืชคลุมให้ได้ปีละ 2,000 ไร่ โดยเลือกวิธี การให้เหมาะสมกับสภาพการผลิตในแต่ละ ท้องที่ เช่น ในสวนผลไม้จะสาธิตการใช้พืช ตระกูลถั่วปลูกคลุมดินและในไร่นา


จะสาธิต การปลูกพืชปุ๋ยสดไถกลบบำรุงดิน หลังการ เก็บเกี่ยว โดยใช้เวลาปลูกประมาร 2-3 เดือน เมื่อพืชปุ๋ยสดออกดอก ก็ทำการตัดสับ และไถกลบลงไปในดิน 3. ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยพืชสด และพืชคลุมโครงการ จะดำเนินการ ผลิตเมล็ดพันธุ์โดยใช้พื้นที่ภายในสถานีพัฒนาที่ดิน 7 แห่ง เพื่อแจกจ่าย ให้เกษตรกร


จะสาธิต การปลูกพืชปุ๋ยสดไถกลบบำรุงดิน หลังการ เก็บเกี่ยว โดยใช้เวลาปลูกประมาร 2-3 เดือน เมื่อพืชปุ๋ยสดออกดอก ก็ทำการตัดสับ และไถกลบลงไปในดิน 3. ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยพืชสด และพืชคลุมโครงการ จะดำเนินการ ผลิตเมล็ดพันธุ์โดยใช้พื้นที่ภายในสถานีพัฒนาที่ดิน 7 แห่ง เพื่อแจกจ่าย ให้เกษตรกร


การใช้พืชปุ๋ยสดเป็นปุ๋ยบำรุงดิน
ปุ๋ยพืชสดเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ได้จากต้นและใบของพืชปุ๋ยสดที่ปลูกไว้ หรือขึ้นเองตามธรรมชาติ เมื่อถึงระยะที่พืช เจริญเติบโตเต็มที่ คือเมื่อพืชเริ่มออกดอก จนถึงดอกบานเต็มที่ ก็ทำการตัดสับแล้วไถกลบ หรือไถกลบลงไปในดินทั้งต้นก็ได้ แล้วแต่ชนิด ของพืช

หลังจากทิ้งไว้จนเน่าเปื่อยผุพัง ก็จะให้ ธาตุอาหารพืช และเพิ่ม อินทรียวัตถุให้แก่ดิน ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับพืชที่จะปลูกต่อ ๆ ไป พืชที่ใช้ปลูกเป็นปุ๋ยพืชสดที่ดีที่สุดนั้น คือพืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ปอเทือง โสน ฯลฯ เพราะพืชตระกูลถั่วมีคุณสมบัติ พิเศษ คือที่รากมีปมเรียกว่าปมรากถั่ว ในปมเหล่านี้มีเชื้อจุลินทรีย์ จำพวก ไรโซเบียมอยู่เป็นจำนวนมาก ไรโซเบียมนี้สามารถดึงธาตุไนโตรเจนจาก อากาศมาใช้ เมื่อพืชเน่าเปื่อย ก็จะเพิ่มธาตุไนโตรเจน และอินทรีย์วัตถุ ให้แก่ดิน

ลักษณะของพืชที่ปลูกเป็นพืชปุ๋ยสด
1. ปลูกง่าย เติบโต และออกดอกใน ระยะเวลาอันสั้น 2. ให้น้ำหนักพืชสดสูง คือมากกว่า 2,000 กิโลกรัม 3. เป็นพืชทนแล้ง ทนต่อสภาพน้ำขัง 2-3 วันได้ และสามารถปลูกได้ทุกฤดู 4. มีความต้านทานโรคและแมลงได้ดี 5. ผลิตเมล็ดพันธุ์ได้มาก ขยายพันธุ์ได้ รวดเร็ว

6. เก็บเกี่ยว ตัดสับ และไถกลบง่าย ไม่ควรเป็นเถาเลื้อยมากนัก เพราะไม่สะดวกใน การไถกลบ 7. ลำต้นอ่อน เมื่อไถกลบแล้วเน่าเปื่อยผุพังเร็ว 8. กำจัดง่าย หรือม่มีลักษณะกระจายพันธุ์เป็นวัชพืช

พืชปุ๋ยสดแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. พืชตระกูลถั่ว เหมาะที่จะปลูกเป็นพืช ปุ๋ยสดมากที่สุด เพราะสลายตัวเร็ว เพิ่มอาหาร พืช ให้แก่ดินได้ดี รากเก็บอาหารพืชได้มาก ปลูกง่าย โตเร็ว มีราก ใบ ลำต้นมาก พืชตระกูล ถั่วยังสามารถแบ่งตามความเหมาะสมในการ ปลูกได้ ดังนี้

1.1 ถั่วที่ไถกลบแล้ว เปลี่ยนเป็นปุ๋ยได้รวดเร็วขึ้นได้ในสภาพ พื้นที่ต่าง ๆ กัน เช่น ปอเทือง โสนอินดีย โสนไต้หวัน โสนคางคก ฯลฯ 1.2 ถั่วที่ปลูกคลุมดินในสวนผลไม้ เพื่อปราบวัชพืช ต้นและใบ ร่วงหล่นเป็นปุ๋ยบำรุงดิน เช่น ถั่วลาย ถั่วเสี้ยนป่า ไมยราบไร้หนามไร้หนาม คาโลโปโกเนียม ถั่วอัญชัน ถั่วกระด้าง ถั่วพร้า ฯลฯ 1.3 ถั่วที่ให้เมล็ดและฝักเป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์ หลังจาก เก็บเกี่ยวแล้วไถกลบลำต้นลงไปในดิน ไม่นิยมปลูกเป็นปุ๋ยพืชสดโดยตรง แต่ถ้าจะใช้เป็นปุ๋ยพืชสด ก็จะให้น้ำหนักสดต่อไร่ต่ำ เช่น ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วแดง ถั่วพรู ถั่วแขก ฯลฯ 1.4 พืชตระกูลถั่วทรงพุ่มหรือยืนต้น นอกจากจะเป็นปุ๋ยพืชสดแล้ว ยังสามารถใช้ประโบชน์อย่างอื่นอีกด้วย เช่น กระถินยักษ์ คราม ถั่วมะแฮะ ขี้เหล็กผี ฯลฯ 2. พืชอื่นนอกเหนือจากพืชตระกูลถั่ว เช่น พืชตระกูลหญ้า ซึ่งส่วนใหญ่ จะให้อินทรียวัตถุแต่มีปริมาณธาตุอาหารพืชต่ำกว่าพืชตระกูลถั่ว ดังนั้นจึงควร หว่านปุ๋ยที่มีไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบในขณะที่ทำการไถกลบโดยใช้อัตรา 5-10 กิโลกรัมต่อไร่ 3. พืชน้ำ เช่น ผักตบชวา จอก แหนมแดง เป็นต้น มีการใช้แหนแดง เป็นปุ๋ยพืชสดในนาข้าว ซึ่งสามารถให้ไนโตรเจน 5-6 กิโลกรัมต่อไร่ และเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดินในอัตราสูงด้วย


การปลูกพืชปุ๋ยสด
การปลูกพืชปุ๋ยสด ควรพิจารณาถึงปัจจัยสำคัญ 3 ประการ คือ 1 ลักษณะของดิน พืชตระกูลถั่วชนิดต่าง ๆ ขึ้นได้ดีใน สภาพดินต่างกัน ฉะนั้นก่อนปลูกต้องปรับปรุงสภาพของดินให้เหมาะสม เช่น ถ้าเป็นดินเปรี้ยว ควรใส่ปูน ดินทรายควรใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 8-24-16 อัตรา 35 กก.ต่อไร่ หว่านเป็นปุ๋ยรองพื้นก่อนปลูก 2. เวลาและฤดูกาลที่ปลูก เวลาที่เหมาะที่สุด คือ ต้นฤดูฝน หรือ หลังเก็บเกี่ยวพืช ดินยังมีความชื้นอยู่ หรือปลูกก่อนการปลูกพืชหรือปักดำ ประมาณ 3 เดือน ช่วงปลายฤดูฝนก็ปลูกได้ถ้าดินยังมีความชื้นอยู่บ้าง 3. วิธีการปลูก มี 3 วิธีคือ ปลูกแบบโรยเมล็ดเป็นแถว หยอดเป็น หลุม และหว่านเมล็ดลงทั่วแปลง ส่วนใหญ่นิยมวิธีหว่านเมล็ด ซึ่งสะดวกและ ประหยัดแรงงาน ควรไถดะก่อนการหว่านเมล็ด แล้วคราดกลบเมล็ด ถ้าเมล็ด พืชมีขนาดใหญ่ ต้องคราดกลบให้ลึกพอควรจะทำให้เมล็ดงอกเร็วขึ้น
อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด
น้ำหนัก (กิโลกรัม) ต่อ 1
ปอเทือง โสนอินเดีย โสนคางคก ถั่วพร้า ถั่วเขียว
ถั่วเหลือง ถั่วพุ่ม ถั่วข้าว ถั่วลาย ถั่วเสี้ยนป่า
ไมยราบไร้หนาม คาโลโปเนียม
โสนไต้หวัน
ถั่วขอ
อัญชัน
5
8
2
4
10
3



วิธีการใช้ปุ๋ยพืชสด
1. ปลูกในพื้นที่แปลงใหญ่ แล้วตัดสับและไถกลบ ก่อนปลูกพืชหลัก 2. ปลูกแซมระหว่างร่องพืชหลัก โดยปลูกพืชปุ๋ยสดหลังจากพืชหลัก โตเต็มที่แล้ว เพื่อป้องกันการแย่งธาตุอาหารในดิน เมื่อพืชปุ๋ยสดเริ่มออกดอก จนถึงดอกบานก็ทำการตัดสับและไถกลบลงไปในร่อง 3. ปลูกพืชปุ๋ยสดในพื้นที่รกร้างว่างเปล่า หรือตามหัวไร่ปลายนา แล้วตัดสับเอาส่วนของพืชปุ๋ยสดนั้นมาใส่ในแปลงพืชหลักไถกลบ


การตัดสับและไถกลบปุ๋ยพืชสด
การตัดสับและไถกลบต้องพิจารณาอายุของพืชเป็นสำคัญ พืชปุ๋ยสด จะมีปริมาณธาตุไนโตรเจน และน้าหนักพืชสดสูงสุด เมื่อเริ่มออกดอกจนถึง ดอกบานเต็มที่ จึงควรทำการตัดสับและไถกลบในช่วงนี้ ทั้งยังเป็นช่วงที่พืช สลายตัวได้เร็ว ถ้าอายุของพืชเกินช่วงนี้ไป ปริมาณธาตุไนโตรเจนจะลดลง พืชปุ๋ยสดส่วนมากสามารถทำการตัดสับ และไถกลบได้เมื่อมีอายุ ระหว่าง 50-90 วัน พืชปุ๋ยสดชนิดที่ลำต้นเตี้ย ให้ทำการไถยกลบด้วยแรงงานสัตว์ แต่ถ้าพืชมีลำต้นสูง หรือเป็นเถาเลื้ย ควรตัดให้ติดผิวดิน และขาดเป็นท่อน ๆ แล้วจึงเลื้อย ควรตัดให้ติดผิวดิน และขาดเป็นท่อน ๆ แล้วจึงไถกลบ พืชจะเริ่มเน่าเปื่อย ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 4-8 สัปดาห์ ก็จะกลายเป็นปุ๋ย ทั้งหมด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดและอายุของพืช สภาพอากาศและความชื้นในดิน ด้วย


ประโยชน์ของปุ๋ยพืชสด
1. เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุและธาตุไนโตรเจนให้แก่ดิน 2. บำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน 3. รักษาความชุ่มชื้นให้ดิน และช่วยให้ดินอุ้มน้าดีขึ้น 4. ลดการสูญเสียหน้าดินอันเกิดจากการชะล้าง 5. ทำให้ดินร่วนซุย สะดวกในการเตรียมดินและไถพรวน 6. ปราบวัชพืชบางชนิดได้ 7. กรดที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังช่วยละลายธาตุอาหาร ในดินให้แก่พืชได้มากยิ่งขึ้น 8. ลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีราคาแพงลงได้บ้าง 9. เพิ่มผลผลิตของพืชให้สูงขึ้น
 

วันพฤหัสบดีที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2554

การปลูกอ้อย และวิธีเพิ่มผลผลิตอ้อย




การปลูกอ้อยและวิธีการเพิ่มผลผลิตอ้อย

                พูดเรื่องมันสำปะหลังมาก็นานนมแล้ว วันนี้พักสมองเปลี่ยนมาคุยกันเรืองอ้อยบ้างดีกว่านะค่ะ ส่วนใหญ่แล้วคนที่ปลูกอ้อย ก็ มักจะสนใจปลูกมันสำปะหลังด้วย หลักการง่ายๆ โดยการสังเกตุส่วนตัวของปริมเองนะค่ะ ว่าถ้าให้เลือกระหว่างปลูกอ้อย หรือ มันสำปะหลังดี ก่อนอื่นเราต้อง มาดูที่ดินของเราก่อนว่า ถ้าเป็นดินเหนียว หรือร่วนปนดินลูกรัง แน่นอนว่าไม่ควรปลูกมันสำปะหลัง เพราะมันแทงหัวยาก ทำให้หัวเล็ก ถ้าจะปลูกจริงๆ ก็ใช้การยกร่องสูงๆๆๆ เข้ามาช่วยค่ะ แต่ถ้าเป็นดินเหนียว , ร่วนทราย , ทราย , ลูกรัง แบบนี้เอาพื่้นที่ไปปลูกอ้อยดีกว่า

                      มาดูระยะการเจริญเติบโตของอ้อยกันก่อนมีดังนี้นะค่ะ

           1.ระยะงอก ประมาณ 2-3 สัปดาห์ 
           2.ระยะแตกกอ อายุประมาณ 1.5 เดือนเป็นต้นไป มากที่สุดอยู่ระหว่าง 2.5-4 เดือน หน่อที่แตกออกมาทั้งหมดในระยะแตกกอนี้จะเหลือเพียงประมาณครึ่งหนึ่งเมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยว
          3.ระยะย่างปล้อง มีการเพิ่มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความยาวของปล้องอย่างรวดเร็ว อายุประมาณ 3-4 เดือน จนถึงอายุประมาณ 7-8 เดือน หลังจากนั้นการเจริญเติบโตจะมีช้าลง มีการสะสมน้ำตาลเพิ่มขึ้น
         4.ระยะแก่และสุก อัตราการเจริญเติบโตช้าลงมาก เมื่อการเจริญเติบโตช้าลง การสะสมน้ำตาลจึงมีมากขึ้น 


                                                วิธีการปลูกอ้อยกัน
1. ฤดูการปลูกอ้อย มีสองฤดูปลูกคือ
          1.1 การปลูกอ้อยข้ามแล้ง คือการปลูกในช่วงเดือน ต.ค.- ธ.ค. ข้อดีของการปลูกช่วงนี้คือ ไม่ค่อยมีหญ้า และอ้อยได้จำนวนอายุหลายเดือนก่อนตัดส่งโรงงาน แต่ข้อเสียก็คือ งอกช้า เวลาปลูกต้องหยอดน้ำไปพร้อมท่อนพันธุ์ด้วยถึงจะดี
          1.2 การปลูกอ้อยฤดูฝน คือการ ปลูกอ้อยหน้า ก.พ.-พ.ค. ช่วงนี้อ้อยจะโตเร็ว งอกเร็ว แต่อ้อยจะมีอายุน้อย ผลผลิตไม่เต็มที่ เพราะต้องตัดส่งโรงงานในช่วงเปิดหีบ  ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว โรงงานจะเปิดหีบประมาณเดือน พ.ย-เม.ย. ซึ่งแล้วแต่พื้นที่ แล้วแต่โรงงานว่าจะเปิดหรือปิดช่วงไหน เราไม่สามารถกำหนดเวลาตัดเองได้
ดังนั้น  แนะนำให้ปลูกอ้อยข้ามแล้ง จะทำให้อ้อยมีอายุเลย 10 เดือนกำลังโตเต็มที่ น้ำหนักดี ให้ค่า CCS สูง

2. การเตรียมดิน
ขั้นตอนนี้สำคัญมากสำหรับการปลูกอ้อย ถ้าดูแลในขบวนการนี้ดีๆ อ้อยจะสามารถเก็บไว้ได้หลายตอ และให้ผลผลิตสูง การปลูกอ้อยถ้าละเลยขั้นตอนนี้ในปีถัดๆ ไปผลผลิตจะลดลงมากเก็บได้อย่างเก่งไม่เกิน 2 ตอ การไถต้องทำดินให้ร่วนซุยที่สุด และไถให้ลึก โดยการใช้ ริบเปอร์ ระเบิดดินดาน การไถถึงชั้นดินดานทำให้มีละอองน้ำจากชั้นดินดานระเหยมาล่อเลี้ยงรากอ้อยได้ เพราะว่ารากอ้อยจะลงลึกกว่า 50 ซม. ดูรูปเครื่องระเบิดดินดานจากรูปด้านล่างค่ะ


ความจริงมีต้วที่ยาวกว่านี้นะค่ะ สำหรับริปเปอร์ตัวนี้ ยังสั้นอยู่ ดูรูปด้านล่างประกอบอีกที แต่ไม่ค่อยชัดนะค่ะ

นึกหน้าตาของมันออกอยู่น้อ เป็นงวงยาวๆ แบบนี้ละค่ะ ใช้ไถระเบิดดินดาน ทำให้ดินกักเก็บความชื้นได้ดี ดินร่วนซุยดีด้วย

3. การปลูกอ้อยร่องคู่
แต่ก่อนเกษตรกรนิยมปลูกอ้อยแบบร่องเดี่ยว แม้แต่เครื่องจักรยังเป็นแบบร่องเดี่ยวอยู่เลย ที่แนะนำให้ปลูกคือ ปลูกแบบร่องคู่ ทำให้จำนวนประชากรของอ้อยเพิ่มขึ้น เมื่อจำนวนประชากรอ้อยเพิ่มขึ้น น้ำหนักต่อไร่ของอ้อยก็เพิ่มจำนวนได้ค่ะ ดูรูปจากรูปด้านล่างนะค่ะ

จากรูปจะเห็นได้ว่า ระยะห่างระหว่างร่องแต่ละร่อง คือ 120 ซม. แล้วระยะห่างของแถวสองแถวในร่องคือ 50 ซม. ดูจากรูปจะเข้าใจง่ายค่ะ ถ้าเวลาซื้อรถปลูก ก็จะรถปลูกแบบร่องคู่แบบนี้มาขายแล้วไม่ต้องห่วงค่ะ ^__^ ไม่ได้ลำบากอะไร

แต่ว่าขั้นตอนทีสำคัญต้องอย่าลืมรองพื้นด้วยปุ๋ยอินทรีย์นะค่ะ ที่ปริมแนะนำคือ ปุ๋ยวันเดอร์สูตรสีเขียว เป็นอินทรีย์+กรดอะมิโน ทำให้อ้อยมามีความอวบเขียว แตกยอกเร็ว การใช้ก็ไร่ละกระสอบ วันเดอร์เขียวตามรูปภาพด้านล่าง
คลิกที่รูปเพื่ออ่านคุณสมบัติของ วันเดอร์ สูตรสีเขียว ปุ๋ยเม็ดสำหรับรองพื้น ในไร่อ้อย

ถ้าใครไม่อยากใช้ของปริมก็ สามารถใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ยี่ห้ออื่นได้นะค่ะ แต่การรองพื้นขอให้เป็นปุ๋ยอินทรีย์เลือกที่ดีๆ หน่อยอย่าเอาถูกมากจนมีแต่ดินไม่มีอินทรีย์วัตถุเลย จะปลุกอ้อยทั้งทีอย่าขี้เหนียวปุ๋ยรองพื้นนะคะ แต่ไม่แนะให้เป็นเคมีรองพื้นนะ เพราะว่าอ้อยยังไม่งอกเลย ปุ๋ยเคมีมันละลายหมดแล้วกินได้ไม่ถึง 15 วันยังไม่ได้งอกเลยหมดฤทธิ์ซะแล้ว ถ้ามีขี้เค้ก ขี้วัว ขี้ควาย นั่นแหละค่ะของดี ใส่ลงไปเลยเป็นตันได้ยิ่งดี ขึ้นตอนนี้ห้ามละเลยถ้าอยากเก็บอ้อยไว้ได้หลายๆ ตอ อย่าขี้เหนียวนะขึ้นตอนนี้ ถ้าไม่มีตังส์ซื้อปุ๋ยจริงๆ ให้อัดปุ๋ยรองพื้นนี่แหละ ดีที่สุดค่ะ แต่ถ้าใส่ตามช่วงระยะเวลาการเจริญเติบโตของมันจะดีกว่านะค่ะ ^__^

แต่ยังก่อน ยังไม่จบ ตอนนี้มีการปลูกอ้อยแบบร่อง 4 ด้วยนะค่ะ เพิ่มจำนวนประชากรอ้อยได้มากขึ้นไปอีก แต่การปลูกร่อง 4 ปริมยังไม่แนะนำ รอดูฤดูกาลเก็บเกี่ยวปีนี้ก่อนให้รู้ว่าได้ผลผลิตกี่ตันต่อไร่ จะสู้ร่องคู่ได้ใหม ปริมเห็นลูกค้า บริษัท ขุนพลกรุ๊ป เขาปลูก เลยขออนุญาติเก็บรูปในแปลงของพี่เค้ามาโชว์ให้ดูนะค่ะ
นี่เครื่องปลูกร่อง 4 นะค่ะ

 งอกระยะแรกๆ สังเกตุเห็นใหมค่ะว่าเป็นร่อง 4 นะ 

นี่งอกได้ประมาณ 2 เดือน ดูความหนาแน่นของประชากรอ้อย

4. การจัดการะบบน้ำ 
อ้อยมีความต้องการปริมาณน้ำในแต่ละช่วงไม่เท่ากัน ระยะงอกต้องการความชื้้นที่พอเหมาะน้ำไม่ขัง ให้มีความชื้นนิดหน่อยยอดอ้อยก็สามารถแตกยอดขึ้นมาได้ แต่ในระยะ 1- 3 เดือนนี้ อ้อยต้องการน้ำในปริมาณที่มากและต้องไม่ขาดน้ำในช่วงนี้ ดังนั้นในช่วงนี้ถ้าอ้อยขาดน้ำจะชงักการเจริญเติบโต ต้นแคระแกรน ที่สำคัญคนที่ปลูกอ้อยข้ามแล้งจะเจอปัญหาอ้อยขาดน้ำ ในช่วงนี้แนะนำให้ใช้วิธีการปล่อยน้ำลาด หรือให้ฉีดพ่นทางใบให้กับอ้อย ได้ทั้งน้ำได้ทั้งปุ๋ย ทำให้อ้อยโตเร็วหนี้หญ้าได้ ปุ๋ยน้ำที่ปริมแนะนำให้ใช้ในช่วงนี้คือ ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ นาโนอะมิโน + บูตเตอร์สีเงิน จะทำให้อ้อยโตเร็วต้อนรับช่วงย่างปล้องได้เร็ว และบูตเตอร์เงินจะทำให้ลำต้นของอ้อยแข็่งแรง ป้องกันโรคหนอนกอเจาะได้ รูปของปุ๋ยน้ำและบูตเตอร์ดังด้านล่าง 

คลิกที่รูปเพื่ออ่านคุณสมบัติของ ปุ๋ยน้ำ นาโนอะมิโน ตรานกอินทรีคู่ เร่งแตกกอ เร่งโต สำหรับอ้อย
คลิกที่รูป เพื่ออ่านคุณสมบัติของ ปุ๋ยน้ำ บูสเตอร์สูตรสีเงิน เสริมสร้างความแข็งแรง เพิ่มความเขียว

อันนี้ใช้ผสมน้ำฉีดพ่นทางใบนะค่ะ ในอัตราส่วน 50-100 CC ต่อน้ำ 20 ลิตร สำหรับใครที่ไม่อยากใช้ก็ไม่ว่ากันค่ะ จะราดน้ำเฉยๆ หรือฉีดน้ำเฉยๆ ก็ได้ค่ะ แต่ให้ปุ๋ยไปด้วยจะทำให้อ้อยโตเร็วมาก เข้าสู่ช่วงย่างปล้องเร็วมาก 
5. การใส่ปุ๋ยให้ถูกช่วงเวลา
ปุ๋ยทุกอย่างดีหมด ถ้าเรารู้จักใช้ให้ถูกกับเวลาและการเจริญเติบโตของพืช เช่นในระยะ จะเข้าสู่ช่องแตกกอ ต้องเส้นการสร้างใบ และสร้างเนื้อเยื่อ คือช่วงเวลา 2-4 เดือน สำหรับปุ๋ยเม็ด ปริมแนะนำสูตรอินทรีย์เคมี เฟอร์เฟคเอส 16-3-3 อันนี้เอาไว้สร้างใบและต้น ให้โตเร็วหนีหญ้า รูปด้านล่างค่ะ

คลิกที่รูป เพื่ออ่านคุณสมบัติของ เพอร์เฟค-เอส ปุ๋ยเม็ดเร่งแตกกอ และเร่งย่างปล้อง สำหรับอ้อย
ปุ๋ยสูตรนี้บำรุงต้น ทำให้ต้นเขียวเร็ว และถ้าเป็นอินทรีย์+เคมีจะทำให้อ้อยเขียวนานมาก มีเคมีในปริมาณที่เหมาะสมทำให้เขียวเร็ว และพอเคมีหมดฤทธิ์เม็ดอินทรีย์ก็ทำงานต่อเนื่องกันทำให้เพียงพอต่อความต้องการธาตุอาหารของอ้อย ถ้าใช้อินทรีย์อย่างเดียวในช่างนี้ปริมไม่แนะนำนะค่ะ มันช้าเกินไปสำหรับความต้องการธาตุอาหารของอ้อย ถ้าใช้เคมีก็จะหมดเร็วเกิน เคมีมีฤทธิ์อยู่ได้ไม่เกิน 15 วันก็หมดละ หรือถ้าไม่ใช้ของปริมอยากผสมปุ๋ยเองก็เอาปุ๋ยอินทรีย์ผสมกับ ยูเรีย 40 -0-0 ก็ใช้ได้ค่ะ แต่ระวังผสมให้ได้สัดส่วนที่พอเหมาะนะค่ะ ถ้ายูเรียมากเกินต้นจะเขียวอวบ ๆ แต่ไม่แข็งแร็งหนอกกอเข้าเจาะลำต้นได้ง่าย ถ้าอยากใช้การฉีดพ่นทางในระยะย่างปล้องแล้ว ขอแนะนำ ไอโอเอ็น จุลินทรีย์ ตรึงไนโตรเจนในอากาศ ในอากาศที่วนเวียนอยู่รอบตัวเรา มีไนโตรเจนเต็มไปหมด แต่อ้อยไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ ถ้าฉีดยาไบโอเอ็นอ้อยตัวนี้ มันจะทำหน้าที่ดึงไนโตรเจนทีมีอยู่ในอากาศมาใช้ได้ในอ้อย ประโยชน์ของมันคือ 
คุณประโยชน์
1. เพิ่มการสร้าง และตรึงไนโตรเจน (Biological Nitrogen Fixation; BNF) จากอากาศ
   ให้กับต้นอ้อย
2. เพิ่มการย่อยสลาย การปลดปล่อย และการเปลี่ยนรูปธาตุอาหารในดิน
3. ช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ให้กับอ้อย
แต่ตัวนี้มีข้อกำจัดคือ เนื่องจากมันเป็นจุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิต ห้ามใช้คู่กับพวกสารเคมี ยาฆ่าหญ้าอะไร
พวกนี้ ไม่งั้นจุลินทรีย์มันตายหมด ก็เสียดายปุ๋ย เสียดายเงินค่ะ รูปดังด้านล่างนะค่ะ 
คลิกที่รูป เพื่ออ่านคุณสมบัติของ ไบโอ-เอ็น จุลินทรีย์ที่มีความสามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศ มาใช้กับอ้อย

6. อยากให้อ้อยได้น้ำหนัก
ค่าCCS ( Commercial Cane Sugar ) เพิ่มขึ้นต้องเน้นในช่วงระยะเดือนที่ 5-6 ถ้าจะใส่ปุ๋ยให้ใส่สูตรที่มีตัวหลังสูง อ้อยจะได้น้ำหนักและค่าน้ำตาลพาณิชย์เพิ่มสูงขึ้น ดูจากตารางเปรียบเทียบระยะการเจริญเติบโตในช่วงระยะแก่สุก ต้องหลัง 8 เดือนนะค่ะ อ้อยจะมีความหวานเพิ่มขึ้นสำหรับช่วงนี้แนะนำให้ใช้ปุ๋ยอินทรีย์เคมี เฟอร์เฟคพี สูตร 5-3-14 จะทำให้อ้อยหวานและได้น้ำหนักดูจากรูปนะค่ะ

คลิกที่รูป เพื่ออ่านคุณสมบัติของ เฟอร์เฟค-พี ปุ๋ยเม็ดเพิ่มน้ำหนัก และเร่ง CCS หรือค่าความหวาน

ถ้าไม่อยากใช้ของปริมก็แนะนำให้เอาแม่ปุ๋ย 0-0-60 ผสมกับปุ๋ยอินทรีย์หว่าน ในระหว่างเดือนที่ 5 หรือ 6 เข้ากลางร่องเลย ก็โอเคค่ะที่สำคัญ ใส่ปุ๋ญให้ถูกช่วงของการเจริญเติบโต ดูแลอย่าให้ขาดน้ำ แค่นี้ก็โอเคแล้วค่ะ ไม่ยากอย่างที่คิด ปลูกอ้อยทั้งทีอย่าปล่อยตามบุญตามกรรม ทุกอย่างที่เราลงมือทำมันคือต้นทุนทั้งหมด ทำแล้วต้องมีกำไรคำว่ากำไรของปริมคือ ต้นทุนที่ลงไป หัก ค่าใช้จ่ายแล้วไม่ขาดทุน ก็คือกำไร จะกำไรมาก กำไรน้อยก็แล้วแต่เราบริหารนะค่ะ 


ดึกมากแล้ววันนี้ ง่วงละไว้คุยกันคราวหน้านะคะ สำหรับใครสนใจสินค้าหรือ อยากโทรมาปรึกษาวิธีการปลูก หรือเรืองอื่นๆ ยกเว้นโทรปรึกษาเรืองเงิน หรือใครเป็นโรคทรัพย์จางไม่รบปรึกษานะค่ะ  อิอิ

โทรหาปริมได้ที่ 089-4599003 หรือจะอีเมล์มาก็ได้ Farmkaset@gmail.com

ปล. แถมท้ายให้สำหรับการคำนวณค่าของ CCS ค่ะ
ถ้าอ้อย 10 CCS หมายถึงอ้อยหนัก 1 ตัน จะทำน้ำตาลพาณิชย์ได้ 100กิโลกรัม เมื่อโรงงานมีประสิทธิภาพ 100%   ถ้าอ้อย 12 CCS ก็หมายถึงอ้อย 1 ตันจะได้น้ำตาล 120 กิโลกรัมค่ะ

เดี๋ยวคราวหน้ามาแนะนำเรื่องพันธุ์อ้อยกันนะค่ะ วันนี้ไปละค่ะ บายค่ะ